Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบของหลักสูตรแกนกลาง - Coggle Diagram
องค์ประกอบของหลักสูตรแกนกลาง
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๒) กิจกรรมนักเรียน
๓) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
๑) กิจกรรมแนะแนว
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๔) ใฝ่เรียนรู้
๕) อยู่อย่างพอเพียง
๓) มีวินัย
๖) มุ่งมั่นในการทำงาน
๒) ซื่อสัตย์สุจริต
๗) รักความเป็นไทย
๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๘) มีจิตสาธารณะ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
๔) สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๕) สุขศึกษาและพลศึกษา
๓) วิทยาศาสตร์
๖) ศิลปะ
๒) คณิตศาสตร์
๗) การงานอาชีพและเทคโนโลยี
๑) ภาษาไทย
๘) ภาษาต่างประเทศ
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๒) ความสามารถในการคิด
๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๑) ความสามารถในการสื่อสาร
วิสัยทัศน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ
จุดหมาย
๓) มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย
๔) มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๒) มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต
๕) มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์ และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
๑) มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ระดับการศึกษา/การจัดเวลาเรียน
๒) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓) ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่เกิน ๖ ชั่วโมง คิดน้ำหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ ๔๐ ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่าน้ำหนักวิชาเท่ากับ ๑ หน่วยกิจ (นก)
๑) ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖) ให้จัดเวลาเรียนรายปี โดยมีเวลาเรียนวันละไม่เกิน ๕ ชั่วโมง
๓) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ - ๖) ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่น้อยกว่า ๖ ชั่วโมง คิดน้ำหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ ๔๐ ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่าน้ำหนักวิชาเท่ากับ ๑ หน่วยกิจ (นก)
ตัวชี้วัด
๑) ตัวชี้วัดชั้นปี
๒) ตัวชี้วัดช่วงชั้น
การจัดการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
๓) การศึกษาทางเลือก
๔) การศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาส
๒) การศึกษาสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ
๕) การศึกษาตามอัธยาศัย
๑) การศึกษาเฉพาะทาง
โครงสร้างเวลาเรียน
๒) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม ๑ - ๓) รวม ๓ ปี จำนวน ๔๕ ชั่วโมง
๓) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม ๔ - ๖) รวม ๓ ปี จำนวน ๖๐ ชั่วโมง
๑) ระดับประถมศึกษา (ป ๑ - ๖) รวม ๖ ปี จำนวน ๖๐ ชั่วโมง
การจัดการเรียนรู้
๓) การออกแบบการจัดการเรียนรู้
๒) กระบวนการเรียนรู้
๑) หลักการจัดการเรียนรู้
๔) บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
สื่อการสอน
๓) เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลายสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน
๔) ประเมินคุณภาพของสื่อการเรียนรู้ที่เลือกใช้อย่างเป็นระบบ
๒) จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรู้สำหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมทั้งจัดหาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อการเรียนรู้
๕) ศึกษาค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
๑) จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ระหว่างสถานศึกษา ท้องถิ่น ชุมชน สังคมโลก
๖) จัดให้มีการกำกับ ติดตาม เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
๒) การประเมินระดับสถานศึกษา
๓) การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา
๑) การประเมินระดับชั้นเรียน
๔) การประเมินระดับชาติ
เอกสารหลักฐานการศึกษา
สถานศึกษากำหนด
๒) แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา
๓) ระเบียนสะสม
๑) แบบรายงานประจำตัวนักเรียน
๔) ใบรับรองผลการเรียน
๔) เอกสารอื่น ๆ
กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
๒) ประกาศนียบัตร
๓) แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา
๑) ระเบียนแสดงผลการเรียน
การเทียบโอนผลการเรียน
๒) พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้งภาคความรู้และภาคปฏิบัติ
๓) พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง
๑) พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ ที่ให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
หลักการ
๔) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้
๒) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ
๕) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๑) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรูั เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล
๖) เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัยครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารเทียบโดนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
๓) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
๒) เกณฑ์การจบการศึกษา
๑) การตัดสิน การให้ระดับ และการรายงานผลการเรียน