Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย การประยุกต์สู่การจัดการเรียนรู้ - Coggle Diagram
ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
การประยุกต์สู่การจัดการเรียนรู้
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล
(Information Processisng Theory)
ความหมาย
พัฒนาสติปัญญา/กระบวนการทำงานของสมอง
การรับข้อมูล (Input)
ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 รับรู้/รู้จัก/ใส่ใจ
การส่งข้อมูล (Output)
การถอดรหัสข้อมูล ไปสู่ความจำระยะยาว/การขยายความคิด
การเข้ารหัส (Encoding)
รับข้อมูลมาเป็นความจำระยะสั้น/การเรียกใช้
การรู้คิด (Metacognition)
การตระหนักความรู้ความสามารถของตน
เพื่อควบคุมการคิการกระทำของตนด้วยวิธีต่างๆ ช่วยให้งานสำเร็จ
การประยุกต์ใช้
นำเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จัก/มีประสบการณ์
ท่องซ้ำ/จัดหมวดหมู่
ช่วยให้เก็บความจำระยะสั้นเป็นความจำระยะยาว
การเข้ารหัส (Encoding)เพื่อให้เกิดความจำระยะยาว
ท่องจำ/ทวนซ้ำ/ทบทวน/เรียบเรียง/ขยายความ
พฤติกรรมทางวาจา/การกระทำ
ช่วยกระตุ้นให้นำข้อมูลที่เก็บไว้ทั้งระยะสั้น/ยาวออกมาใช้งาน
ทฤษฎีพหุปัญญา
(Theory of Multiple Intelligence)
Gardner (1983) - เชาวน์ปัญญา คือ ความสามารถในการแก้ปัญหาในสิ่งแวดล้อมต่างๆ หรือการสร้างสรรค์ผลงาน สามารถเปลี่ยนแปลงได้
เชาวน์ปัญญา 8 ด้าน
Linguistic Intelligence
ปัญญาด้านภาษา
Intrapersonal Intelligence
ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง
Bodily Kinesthetic Intelligence
ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว
Musical Intelligence
ปัญญาด้านดนตรี
Naturalist Intelligence
ปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา
Logical - Mathmatical Intelligence
ปัญญาด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์
Interpersonal Intelligence
ปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์
Visual - Spatial Intelligence
ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์
การประยุกต์ใช้
จัดกิจกรรมที่หลากหลาย
จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับพัฒนาการผู้เรียน
ส่งเสริมเอกลักษณ์ของผู้เรียน
วัดและประเมินผลหลายด้าน
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ
(Theory of Cooperative/Collaborative)
Johnson And Johnson (1994)
ความหมาย
ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น/ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
การจัดประสบการการเรียนรู้ กลุ่ม 3-5 คน โดยสมาชิก แตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ความสามารถทางการเรียน
องค์ประกอบ
การพึ่งพาและเกื้อกูลกัน
การปรึกษาหารืออย่างใกล้ชิด
ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ของสมาชิกแต่ละคน
ทักษะการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล+ทักษะการทำงานกลุ่มย่อย
การวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม
ผลดี
ผู้เรียนที่พยายามจะบรรลุเป้าหมายมากขึ้น
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนดีขึ้น
ผู้เรียนมีสุขภาพจิตที่ดี
Slavin (1987)
ความหมาย
จัดเป็นกลุ่ม 4 คน :เก่ง 1 คน/ปลานกลาง 2 คน/อ่อน 1 คน
สมาชิกแต่ละคนช่วยเหลือเพื่อในกลุ่มเดียวกันและได้รับรางวัลถ้าคะแนนกลุ่มถึงเกณฑ์
ประเภทของกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ
กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบเป็นทางการ
กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบไม่เป็นทางการ
กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบถาวร
การประยุกต์ใช้
การประเมินผล
การจัดกิจกรรม
กำกับดูแล/ช่วยเหลือกลุ่ม
การวางแผนการสอน
เทคนิคจัดการเรียนรู้
มหาลัยจอห์นฮอปกินส์
เทคนิค STAD (Student Teams Achievement Division)
ตอบคำถาม/ความรู้ในเรื่องนั้นๆแล้วเก็บคะแนน (กลุ่ม)
เทคนิค TGT (Teams Game Tournament)
เกม (กลุ่ม)
เทคนิค TAI (Teams Assisted Individualization)
ให้งานรายบุคคล
เทคนิค CIRC (Cooperative Integrated Reading Composition)
พัฒนาการอ่าน-เขียน
Round Robin
Chat Corner
จัดเป็นมุม
Match Mime
ใบ้คำ/สื่อสาร
Numberered-head Together
Color-Coded Co-Op
Cards
Pair Check
Three-Step Interview
Think-Pair share
คิดเป็นคู่แลกเปลี่ยน
Team Word-webbing
Round Table
Inside-outside Circle
Partner
ทำคู่
Jigsaw
จัดตามเนื้อหาย่อย
Co-Op Co-Op
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
(Constructivism)
Vygotsky (1962)
สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา
ทุกคนมีระดับพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา และศักยภาพที่จะพัฒนาได้
การให้ความช่วยเหลือ ชี้แนะ ช่วยพัฒนาให้ถึงระดับที่อยู่ในศักยภาพของผู้เรียน
การประยุกต์ใช้
เป้าหมายการเรียนรู้ จากการปฏิบัติงานจริง
ผู้เรียนฝึกฝนและเรียนรู้
เน้นกระบวนการสร้างความรู้
และตระหนักรู้ในกระบวนการนั้น
การสาธิต เป็นการแปลความหมาย
และสร้างความหมายที่หลากหลาย
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มที่ โดยให้
ผู้เรียนนำตนเองและควบคุมตนเอง
ในการเรียนรู้
ประเมินผลด้วยวิธีการหลากหลาย
แบบ goal ffree evaluation
ครูเป็นผู้ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือผู้เรียน
Jonassen (1992)
ให้ความสำคัญกับกระบวนการและวิธีการสร้างความรู้ ความเข้าใจจากประสบการณ์
สมอง เป็นเครื่องมือสำคัญที่สุด
เรียนรู้ด้วยการจัดกระทำข้อมูล มิใช่การรับข้อมูล
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางสมองและกระบวนการทางสังคม
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน
(Constructivonism)
การประยุกต์ใช้
การออกแบบวัสดุ/นำเทคโนโลยีมาใช้
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
LEGO TC Logo
Micro-worlds
Robot Design
การจัดบรรยายกาศสภาพแวดล้อมที่ดี
หลากหลายตามความแตกต่าง/ความสามารถ
เอื้อต่อการเรียนรู้
ครู
อำนวยความสะดวก/ชี้แนะ
การประเมิน
ใช้ผลงาน (Product)/กระบวนการ (Process) ที่หลากหลาย
ความหมาย
พื้นฐานมาจากทฤษฎีทางสติปัญญาของเพียเจต์
การเรียนรู้ที่ดี=การสร้างพลังงานความรู้ในตัวเอง+ด้วยตนเอง
การสร้างสรรค์ชิ้นงาน=การสร้างความรู้ในตนเอง
เป็นการสร้างความรู้ใหม่และการสร้างความรู้ที่คงทน