Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็นสากล และการประยุกต์สู่การจัดการเรียนรู้ - Coggle…
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็นสากล
และการประยุกต์สู่การจัดการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Behaviorism)
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
(Thorndike’s Classical Connectionism)
หลักการจัดการเรียนการสอน
ให้ผู้เรียนลองผิดลองถูก เพื่อเกิดการเรียนรู้ แก้ปัญหา จดจำ และมีความภาคภูมิใจในตนเอง
สำรวจ/สร้างความพร้อมให้กับผู้เรียน
ให้ผู้เรียนฝึกฝนบ่อยๆ เพื่อเกิดเป็นทักษะ
ให้ผู้เรียนฝึกนำการเรียนรู้ไปใช้บ่อยๆ
ให้ผู้เรียนได้รับผลที่พอใจ ความสำเร็จ
รางวัล เพื่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้
กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
กฎแห่งการฝึกหัด
ฝึกหัด/กระทำบ่อยๆ ทำให้การเรียนรู้คงทน ถาวร
กฎแห่งความพร้อม
ผู้เรียนพร้อมทั้งกายและใจ
+ความรู้พื้นฐาน
กฎแห่งผลที่พึงพอใจ
เมื่อได้รับผลที่พึงพอใจก็จะเรียนรผุ้ต่อไป
กฎแห่งการใช้
มีการนำการเรียนรู้มาใช้บ่อยๆ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
(Conditioning Theory)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของพาฟลอฟ
(Classical Conditioning)
**
หลักการจัดการเรียนการสอน
นำความต้องการทางธรรมชาติของนักเรียนมาเป็นสิ่งเร้า
สอนพร้อมสิ่งเราที่ผู้เรียนชอบตามธรรมชาติ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ต่อเนื่องและลักษณะคล้ายกัน
การเรียนรู้
เกิดจากการวางเงื่อนไขที่ตอบสนองต่อความต้องการตามธรรมชาติ
การตอบสนอง
เกิดจากสิ่งเร้า ที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ
กฎแห่งการลดภาวะ (Law of Extinction)
ความเข้มของการตอบสนองลดลงหากได้รับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขอย่างเดียว
กฎแห่งการจำแนกความแตกต่าง (Law of Discrimination)
เกิดการเรียนรู้/ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ
(Classical Conditioning)
ของวัตสัน
(Watson)
**
พฤติกรรม
สามารถทำให้ลดลงและหายไปได้
สามารถควบคุมได้โดยการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนขสัมพันธ์กับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ
การเรียนรู้จะคงทนถาวร เมื่อสิ่งเร้าที่สัมพันธ์กันควบคู่กันไปสม่ำเสมอ
หลักการจัดการเรียนการสอน
จัดสิ่งจูงใจ/สิ่งเร้า ให้สอดคล้องกับภูมิหลัง/ความต้องการของนักเรียน
จัดสิ่งจูงใจ/สิ่งเร้า ควบคู่กับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข
ลดพฤติกรรมที่ไม่พึงปราถนา โดยจัดสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อไข เช่น ความเป็นมิตร
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง
(Contiguous Conditioning Theory)
ของกัทธรี
(Guthrie)
**
กฎแห่งความต่อเนื่อง
(Law of Cobtiguity)
เมื่อมีสิ่งเร้าจะตอบสนอง สิ่งเร้าเดิม=ตอบสนองแบบเดิม
กฎการกระทำครั้งสุดท้าย
(Law of Cobtiguity)
**
หากเรียนรู้สมบูรณื เมื่อมีสถานการณ์ก็จะตอบสนองแบบการเรียนรู้ครั้งสุดท้าย
หลักการจูงใจ
(Motivation)
**
เกิดภายในตัวบุคคล/ผู้เรียนสนใจด้วยตนเอง
หลักการจัดการเรียนการสอน
วิเคราะห์งานออกเป็นส่วนย่อย สอนเป็นส่วนย่อย
จบบทเรียน สอนให้ผู้เรียนเข้าใจให้ถูกต้อง
มีการจูงใจผู้เรียน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสาน
(Electicism)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกานเย่ (Gagne)
กลุ่มผสมผสาน :พฤติกรรมนิยม+พุทธินิยม (Behavior Cognitivist)
การเรียนรู้ 8 ประเภทตามลำดับขั้น
เรียนรู้สัญชาติญาน (signal-learning)
เรียนรู้สิ่งเร้า- การตอบสนอง (Stimulus-Response)
การเรียนรู้เชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง (Chaining)
การเชื่อมโยงทางภาษา (Verbal Association)
การเรียนรู้ความแตกต่าง (Discrimination Learning)
การเรียนรู้ความคิดรวบยอด (Concept Learning)
การเรียนรู้กฎ (Rule Learning)
การเรียนรู้แก้ปัญหา (Problem Solving)
สมรรถภาพของมนุษย์ 5 ประการ
การเรียนรู้ข้อเท็จจริง (Verblal Information)
ทักษะเชาว์ปัญญา (Intellectual Skills)
จำแนก
ความคิดรวบยอด
การให้คำจำกัดความของความคิดรวบยอด
การเข้าใจกฎและใช้กฎ
การแก้ปัญหา
ยุทธศาสตร์ในการคิด (Cognitive Strategies)
ทักษะการเคลื่อนไหว (Motor Skills)
เจตคิ (Attitudes)
หลักการศึกษา/หลักการสอน
ระบบการสอน 9 ขั้น
ขั้นที่ 2 แจ้งจุดประสงค์
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ
ขั้นที่ 4 เสนอบทเรียนใหม่
ขั้นที่ 3 กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น
ขั้นที่ 6 ให้ลงมือปฏิบัติ
ขั้นที่ 5 ให้แนวทางการเรียนรู้
ขั้นที่ 8 ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์
ขั้นที่ 7 ให้ข้อมูลย้อนกลับ
ขั้นที่ 9 ส่งเสริมความแม่นยำและถ่ายโอนการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
หรือกลุ่มความรู้ ความเข้าใจ
(Cognitivism)
ทฤษฎีเกสตัลท์
(Gestalt Theory)
หลักการ
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางความคิด เรียนรู้จากสิ่งเร้ารวมได้ดีกว่าส่วนย่อย
การเรียนรู้
การรับรู้(perception)
เป็นการใช้สมองคิด ตีความหมาย
การหยั่งรู้(insight)
เกิดความเข้าใจในการแก้ปัญหาฉับพลัน จากการพิจารณาปัญหาโดยส่วนรวม
กฎการรับรู้(Perception)
กฎแห่งความคล้ายคลึง (law of similarity)
รับรู้สิ่งที่คล้ายคลึงกัน เพื่อจัดเข้ากลุ่มเดียวกัน
กฎแห่งความใกล้เคียง (law of proximity)
สิ่งที่มีความใกล้เคียง จะรับรู้ไว้ในแบบเดียวกัน
กฎแห่งความชัดเจน (cleatness)
การเรียนรู้ที่ดีต้องมีความชัดเจนและแน่นอน
กฎแห่งความใกล้ชิด (law of closure)
สิ่งใดมีความใกล้ชิด จะรับรู้ไว้ในแบบเดียวกัน
กฎแห่งความต่อเนื่อง (law of continuation)
มีทิศทางเดียวกัน จะรับรู้ไว้ในแบบเดียวกัน
หลักการจัดการเรียนการสอน
การส่งเสริมการคิด
จัดประสบการณ์ใหม่ที่สัมพันธ์กับประสบการณ์เดิม/จัดประสบการณ์ที่หลากหลาย
การจัดระเบียบสิ่งเร้า/เสนอเนื้อหาต่อเนื่องกัน
เสนอเนื้อหาเพียงบางส่วน เพื่อให้ผู้เรียนใช้ประสบการณ์เดิมเติมเต็มให้สมบูรณ์
ความหมาย
เน้นกระบวนการทางปัญญา หรือความคิด
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางความคิด/กระบวนการทางสติปัญญา เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมาย/ความสัมพันธ์ของข้อมูล การนำข้อมูลไปแก้ปัญหา
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
(Intelligence Development Theory)
ของเพียร์เจต์
(Piaget)
**
พัฒนาการทางสติปัญญา
ขั้นรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส
แรกเกิด2ขวบ เรียนรู้จากประสาทสัมผัส
ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด
2-7 ขวบ รับรู้เพียงมิติเดียว
ขั้นการคิดแบบรูปธรรม
7-11 ปี รับรู้หลายมิติ คิดเชิงเหตุผล
ขั้นการคิดแบบนามธรรม
11- 16 ปี จินตนาการเงื่อนไขของปัญหา คิดหาเหตุผลอย่างสมเหตุสมผล
กระบวนการทางสติปัญญา
การซึมซับหรือดูดซึม
สะสมประสบการณ์ เรื่องราว ข้อมูลต่างๆ
การปรับและการจัดระบบ
ปรับประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหม่
ให้เข้ากันเป็นระบบ เกิดโครงสร้างทางปัญญา
การเกิดความสมดุล
ปรับประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหม่ให้เข้ากัน กลมกลืน จนเกิดสมดุล
หลักการจัดการศึกษา/หลักการสอน
พัฒนาจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการทางสติปัญญา
ผู้เรียนพัฒนาตามระดับพัฒนาการที่มีความต่างกัน
สอน รูปธรรมหรือส่วนรวม(Whole) แล้วค่อยสอนนามธรรม
จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อผู้เรียน
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
(Intelligence Development Theory)
ของบรุนเนอร์
(Bruner)
ความหมาย
มนุษย์เลือกรับรู้สิ่งที่ตนสนใจและการเรียนรู้เกิดจากการค้นพบด้วยตนเอง (Discovery Learning)
จัดหลักสูตรการสอนให้เหมาะสมกับความพร้อมและพัฒนาการทางติปัญญา
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา 3 ขั้น
ขั้นการกระทำ (Enactive Stage)
เรียนรู้จากการกระทำ+สัมผัส
ขั้นจินตนาการหรือขั้นสร้างมโนภาพ (Iconic Stage)
เกิดความคิดจากการรับรู้+จิตนาการ
ขั้นใช้สัญลักษณ์และคิดรวบยอด (Simbolic Stage)
เรียนรู้ความสัมพัธ์ของสิ่งรอบตัว+พัฒนาความคิดรวบยอด
หลักการจัดการศึกษา/หลักการสอน
วิเคราะห์และจัดโครงสร้างเนื้อหาให้เหมาะสม
ให้ผู้เรียนได้ค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ให้ผู้เรียนคิดอย่างอิสระ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
จัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการทางสติปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
(Humanism)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของโรเจอร์ (Rogers)
มนุษย์จะพัฒนาได้ดีถ้าอยู่ในสถานการณ์ที่อิสระ ผ่อนคลาย
จัดบรรยากาศเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ครูคอยชี้แนะ/อำนวยความสะดวก
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
สภาพแวดล้อมอบอุ่น ปลอดภัย
ผู้เรียนมีศักยภาพ+แรงจูงใจในการพัฒนาตนเอง ครูชี้แนะ=นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
จัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ
ความหมา
ย
ให้ความสำคัญกับมนุษย์
มนุษย์มีคุณ/ความดีงาม/ความต้องการ/แรงจูงใจภายในที่จะพัฒนาตนเอง
พัฒนาไปสู่มนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์ (Maslow)
ความต้องการพื้นฐานตามธรรมชาติของมนุษย์
5 ขั้น
ขั้นความต้องการด้านร่างกาย (Physioligical needs)
ขั้นความต้องการความมั่นคง ปลอดภัย (Safety Needs)
ขั้นความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ (Belongingness And Love Needs)
ขั้นความต้องการที่ได้รับการยอมรับ นับถือ ยกย่อง (Esteem Needs)
ขั้นความต้องการที่จะเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง (Self-Actualization Needs)
มนุษย์ต้องการที่จะรู้จักตนเองและพัฒนาตนเอง
Peak Experience
ประสบการณ์ที่บุคคลรู้จักตนเองตามสภาพจริง
หลักการจัดการศึกษา
ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้ดี ต้องตอบสนองความต้องการพื้นฐานก่อน
ใช้ความต้องการพื้นฐานของผู้เรียนเป็นแรงจูงใจ
เมื่อผู้เรียนตอบสนองต่อความต้องการพื้นฐานของตนอย่างเพียงพอจะช่วยให้เกิดประสบการณ์ที่บุคคลรู้จักตนเองตามสภาพจริง