Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบทางเดินปัสสาวะร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคระบบทางเดินปัสสาวะร่วมกับการตั้งครรภ์
การพยากรณ์โรค
หญิงตั้งครรภ์ที่ไตเสื่อมมีค่า Creatinine มากกว่า 1.4 mg/dl จะมีโอกาสคลอดทารกก่อนกาหนด เป็นทารกน้าหนักน้อย หรือทารกในครรภ์เติบโตช้า มากกว่าคนทั่วไปที่การทางานของไตปกติถึง 6เท่า
หญิงตั้งครรภ์ที่ไตเสื่อมมีค่า Creatinine มากกว่า 3 mg/dl ทารกแทบไม่มีโอกาสรอดชีวิตเลย
โรคลูปัส
อุบัติการณ์
มักพบในผู้หญิง อายุระหว่าง 20 -45 ปี โดยเพศหญิงมีโอกาสเป็นมากกว่าเพศชายถึง 9-10 เท่า
อาการและอาการแสดง
อาการทางผิวหนังเช่น มีผื่นแดงที่ใบหน้า ที่โหนกแก้มทั้งสองข้าง มีแผลที่ไม่เจ็บในปาก ผมร่วง
อาการทางข้อและกล้ามเนื้อเช่น ปวดตามข้อนิ้วมือ นิ้วเท้า กล้ามเนื้ออักเสบ
อาการทางไตเช่น เปลือกตา/หนังตาและใบหน้าบวมเท้าบวมทั้งสองข้าง ความดันโลหิตสูง ปัสสาวะออกน้อย ปัสสาวะเป็นฟอง
อาการทางระบบประสาทเช่น ปลายประสาทอักเสบ สมองอักเสบ
อาการทางระบบโลหิต เช่น ภาวะซีดมีจ้าเลือดตามตัว เลือดออกง่ายเม็ดเลือดขาวต่า
อาการทางหัวใจและปอดเช่น เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบมีอาการเจ็บหน้าอกใจสั่นเหนื่อยง่ายปอดอักเสบ
อาการทางระบบทางเดินอาหารเช่น หลอดอาหารอักเสบตับอ่อนอักเสบ
เกณฑ์การพิจารณาหลักๆในการให้ตั้งครรภ์
ระยะเวลาสงบของโรคก่อนตั้งครรภ์ไม่น้อยกว่า 6 เดือน
การทางานของไตปกติ โดยไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ
ไม่พบว่ามีโรคแทรกซ้อนเช่น โรคความดันโลหิตสูงโรคแอนตี้ฟอสโฟไลปิด (Antiphospholipid syndrome/ โรคออโตอิมมูนชนิดหนึ่ง)
ไม่มีการใช้ยารักษาที่มีผลต่อทารกเช่น ยา Methotrexate, Cyclophosphamide เป็นต้น
ปัจจัยเสี่ยงเกิดโรคลูปัสกำเริบขณะตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์เองก็เป็นส่วนหนึ่งของการกาเริบของโรคเนื่องจากช่วงตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนและภูมิคุ้มกันต้านทานโรคของร่างกาย
สาเหตุทั่วไป
ยาหลายชนิดที่ใช้รักษาควบคุมโรคลูปัสช่วงตั้งครรภ์
การสูบบุหรี่
การย้อมสีผม
รังสียูวี (Ultraviolet) ในแสงแดด
อาหารบางชนิด
การติดเชื้อของร่างกาย
การใช้ฮอร์โมนต่างๆ
การฝากครรภ์
สูติแพทย์จะทาการนัดฝากครรภ์ให้ผู้ป่วยโรคลูปัสในคลินิกการตั้งครรภ์ความเสี่ยงสูง โดยแพทย์จะนัดดูแลการฝากครรภ์ถี่ขึ้นเป็นทุก 2 สัปดาห์ และมีการตรวจเลือดการตรวจปัสสาวะทุกครั้งที่มาฝากครรภ์หรือตามความเหมาะสมในแต่ละราย มีการตรวจอัลตราซาวด์ทารกเพื่อตรวจวินิจฉัยหาความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้น
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดาขณะตั้งครรภ์ที่อาจพบได้ เช่น ภาวะความดันโลหิตสูง, ครรภ์เป็นพิษ, ไตวายโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตก่อนการตั้งครรภ์, เบาหวานขณะตั้งครรภ์, ภาวะเกล็ดเลือดต่า, ภาวะซีด, เส้นเลือดอุดตันจากลิ่มเลือด, และคลอดก่อนกาหนด
ต่อทารกในครรภ์เช่น ทารกน้าหนักตัวน้อยกว่าเกณฑ์, ทารกคลอดก่อนกาหนด, ทารกหัวใจเต้นผิดจังหวะ, ทารกเสียชีวิตในครรภ์, และเกิดโรคลูปัสในทารก
วิธีการคลอด
สูติแพทย์จะพิจารณาวิธีการคลอดเป็นรายๆไปตามความเหมาะสม
ระยะหลังคลอด
สามารถที่จะให้นมบุตรได้เหมือนคนปกติทั่วไป การให้นมบุตรไม่ส่งผลให้เกิดการกาเริบของโรคและไม่มีผลต่อการเกิดโรคในบุตร ยกเว้นกรณีที่ผู้ป่วยโรคลูปัสใช้ยาในการรักษาโรคที่ส่งผลต่อทารกได้ เช่นยา Cyclophosphamide,Methotrexate เป็นต้น
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
ผลเสียต่อการตั้งครรภ์
กระเพาะปัสสาวะอักเสบมักไม่ส่งผลเสียอะไรมาก แต่ก็อาจกระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกาหนดได้ในบางกรณี ส่วนถ้าเกิดภาวะกรวยไตอักเสบนั้น ถ้าการติดเชื้อมีความรุนแรงมาก อาจเพิ่มความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ต่อการแท้งบุตรได้ โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ นอกจากนั้นก็ยังเพิ่มความเสี่ยงของการเจ็บครรภ์และคลอดก่อนกาหนด รวมทั้งภาวะทารกมีน้าหนักน้อยได้อีกด้วย
แนวทางรักษาติดเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อกาจัดเชื้อกรณีที่เป็นเพียงกระเพาะปัสสาวะอักเสบก็ให้เป็นยารับประทานได้
หากเกิดภาวะกรวยไตอักเสบ ก็ต้องให้ยาทางหลอดเลือด
รักษาตามอาการ เช่น การให้น้าเกลือเพื่อทดแทนน้าและเกลือแร่ที่เสียสมดุล เพราะการดื่มน้ามากๆ จะช่วยลดการติดเชื้อได้ รวมทั้งการให้ยาลดไข้ แก้ปวด เป็นต้น ซึ่งต่างกันในแต่ละกรณี
การป้องกัน
ป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อดังกล่าวขึ้น ด้วยการดื่มน้ามาก ๆ อย่างน้อย 6-8แก้วต่อวัน (1.5-2 ลิตร) เพื่อกาจัดเชื้อโรคในระบบทางเดินปัสสาวะ
ไม่ควรกลั้นปัสสาวะ ไม่ว่ากรณีใดก็ตาม เพราะการกลั้นปัสสาวะจะทาให้เกิดการสะสมของเชื้อแบคทีเรียและเกิดการเพิ่ม จานวน ซึ่งนาไปสู่การติดเชื้อได้ง่ายขึ้น
รักษาสุขอนามัยทั่วไป เช่น ใส่ชุดชั้นในที่สะอาด ไม่อึดอัด ระบายอากาศได้ดี
หลีกเลี่ยงความอับชื้น การทาความสะอาดหลังเข้าห้องน้าทุกครั้ง การเช็ดทาความสะอาดจากด้านหน้าไปด้านหลังเป็นต้น ส่วนการรักษาความสะอาดนั้น ไม่จาเป็นต้องใช้น้ายาทาความสะอาดใด ๆ ทั้งสิ้น รวมทั้งไม่ต้องทาการสวนล้างด้วย
ปัจจัยเสี่ยง
มีประวัติได้รับการสวนปัสสาวะ
มีประวัติติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
โลหิตจาง
เบาหวาน
Renal anormalies
โรคติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะที่ไม่แสดงอาการ
การวินิจฉัย
ใช้วิธีการเพาะเชื้อของปัสสาวะ โดยใช้ปัสสาวะส่วนกลาง (Mid stream urine) stream urine) stream urine) stream urine) stream urine) stream urine) ที่เก็บอย่างถูกต้อง โดยทั่วไปถือว่ามีการติดเชื้อ ถ้าเพาะเชื้อได้แบคทีเรียมากกว่า 100,000 โคโลนีต่อปัสสาวะ 1 มล. ถ้าน้อยกว่า 100,000 มักจะเกิดจากการปนเปื้อน แต่อาจแสดงว่ามีการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่มีแบคทีเรียกรัมลบอย่างเดียวมากกว่า 1,000 1,000 โคโลนีต่อปัสสาวะ 1 มล. หรือแบคทีเรียกรัมลบมากกว่า 10,000 โคโลนีขึ้นไปร่วมกับเชื้ออื่นด้วย ต่อปัสสาวะ 1มล.
การรักษาและการพยาบาล
Ampicillin 500 mg. mg. ทุก 6 ชั่วโมง Sulfisoxazole 1 gm. ทุก 6 ชั่วโมง หรือ nitrofurantoin 100 mg. ทุก 6 ชั่วโมง เป็นต้น ให้ยานานอย่างน้อย 7-10 วัน ตรวจ Urine culture ซ้าหลังให้ยาครบ
ดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล โดยท่าความสะอาดหลังจากปัสสาวะหรืออุจจาระทุกครั้งโดยเช็ดจากด้านหน้าไปด้านหลัง และแนะนาให้รักษาความสะอาดกางเกงชั้นใน
ดื่มน้ามาก ๆ 2,000-3,000 cc./day เพื่อไม่ให้ปัสสาวะคั่ง
รับประทานอาหารให้มีความสมดุลระหว่างโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต ธาตุเหล็ก หลีกเลี่ยงน้าชา กาแฟ เครื่องดื่มที่มี Alcohol เครื่องเทศ
รับประทานวิตามินซีทุกวัน
แนะนำการรับประทานยาให้ครบ course ของยา
ทา Urine culture ถ้าพบว่ายังมี bacteria อยู่ควรให้การรักษา โดยให้ยายาวนานกว่า
โรคติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะที่มีอาการแสดง
ท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
การรักษาและการพยาบาล
ดื่มน้ามาก ๆ
รับประทานอาหารครบทุกหมู่และได้สัดส่วน
แนะนาเกี่ยวกับการท่าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
ไม่ให้กลั้นปัสสาวะ
ให้การรักษาโดยให้รับประทานยาปฏิชีวนะ
ไม่ให้สวมกางเกงในรัดรูปหรือคับเกินไป
Acute cystitis สามารถวินิจฉัยได้โดยดูจานวนเม็ดเลือดขาว bacteria และเม็ดเลือดเลือดแดงในน้าปัสสาวะ ผล culture และ sensitivities มักพบ E.coli เป็นส่วนใหญ่
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน
อุบัติการณ์
เป็นภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรมที่พบบ่อยที่สุดในระยะตั้งครรภ์มีอุบัติการณ์ในระยะตั้งครรภ์และหลังคลอด ประมาณร้อยละ 2 และส่วนใหญ่จะเกิดในครึ่งหลังของการตั้งครรภ์ ถ้าเป็นข้างเดียวมักจะเป็นกับไตข้างขวาซึ่งเป็นข้างที่เส้นเลือดรังไข่ทอดผ่าน หลอดไตเป็นแนวขนานยาวกว่าข้างซ้าย
อาการและอาการแสดง
มีไข้ หนาวสั่น และปวดบริเวณบั้นเอวข้างเดียว หรือสองข้าง อาจจะมีเบื่ออาหาร คลื่นไส้และอาเจียนร่วมด้วย อุณหภูมิร่างกายมักจะสูง กดเจ็บบริเวณ costovertebral angles ในรายรุนแรงอาจมีอาการช็อกจากการติดเชื้อ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
พบมีเม็ดเลือดขาวมักจะติดกันเป็นกระจุก นอกจากนี้ยังมีแบคทีเรียจานวนมากมักเป็นกรัมลบ ตรวจเลือดมักมีจานวนเม็ดเลือดขาวขึ้นสูง รวมทั้งมีจานวน neutrophil สูง การเพาะเชื้อจากปัสสาวะได้แบคทีเรียซึ่งส่วนมากเป็น E. coli การเพาะเชื้อแบคทีเรียจากเลือดอาจขึ้นในบางราย
การวินิจฉัยแยกโรค
ผู้ป่วยที่มาด้วยอาการปวดท้องอาจต้องแยกจากการเจ็บครรภ์ ไส้ติ่งอักเสบ รกลอกตัวก่อนกาหนด การเสื่อมสภาพของกล้ามเนื้อมดลูก (Myoma) ในระยะหลังคลอดต้องแยกจากการติดเชื้อหลังคลอดด้วย
การรักษาและการพยาบาล
ต้องรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล สวนปัสสาวะเพื่อส่งตรวจวิเคราะห์ (Urinalysis) เพาะเชื้อ (Culture and sensitivity) เจาะเลือดตรวจนับเม็ดเลือด ครีเอตินินและ อีเลคโตรไลท์
เริ่มให้ Antibiotic
ให้นอนพักบนเตียงในท่าตะแคงซ้าย
ทำ I/O
ตรวจวัดสัญญาณชีพของแม่ และฟังเสียงหัวใจเด็กบ่อย ๆ
หลังจากคลอด 12 สัปดาห์ ควรมีการตรวจซ้าเพื่อดูความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
Acute GlomerulonephritisAcute
Acute Glomerulonephritis (AGN)เกิดขึ้นน้อยมากในระยะตั้งครรภ์ การวินิจฉัยจะง่ายขึ้น ถ้าได้ประวัติการติดเชื้อ streptococcus นามาก่อน 2-3 สัปดาห์ และถ้าตรวจปัสสาวะพบ red cell casts ร่วมกับ Titer antisteptolysis ขึ้นสูง จะช่วยสนับสนุนการวินิจฉัย ถ้าเกิด Acute Glomerulonephritis ในไตรมาสสุดท้ายของการตั้งครรภ์จะทาให้การวินิจฉัยแยกโรคจาก pre-eclampsia ค่อนข้างยาก เพราะมีได้ทั้งความดันโลหิตสูงและโปรตีนในปัสสาวะ
การรักษาและการพยาบาล
การรักษาไม่แตกต่างจากหญิงที่ไม่ตั้งครรภ์
ยังไม่มีข้อมูลเพียงพอที่จะพยากรณ์โรคในทั้งมารดาและทารกได้ แต่มีรายงานว่าอัตราการสูญเสียทารกสูงขึ้นจากการแท้ง คลอดก่อนกาหนด หรือตายคลอดสูงขึ้น
เนื่องจากอาการและอาการแสดงของโรค มักเป็นอยู่นานเพียงสองสัปดาห์ จึงควรให้การรักษาแบบประคับประคอง
อัตราการตายจากโรคนี้ของสตรีที่ไม่ตั้งครรภ์ ต่ากว่า ร้อยละ 5 สาเหตุการตายมักมาจากหัวใจวาย หรือไตล้มเหลว ผู้ป่วยบางคนจะไม่หายแต่จะค่อย ๆ กลายเป็นเรื้อรัง
สตรีที่มีประวัติเคยเป็น AGN AGN และหายเป็นปกติดีแล้ว ถ้ามีการตั้งครรภ์ตามมา จะไม่เพิ่มอัตราของภาวะแทรกซ้อนขึ้น
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
ถ้าการทางานของไตยังปกติอยู่นิ่วในทางเดินปัสสาวะ (Renal calculi) มักจะไม่มีผลกระทบรุนแรงต่อการตั้งครรภ์นิ่วก้อนเล็กๆ ในบางรายอาจหลุดเองได้บ่อยขึ้นขณะตั้งครรภ์ เนื่องจากมีการหย่อนตัวลงของกล้ามเนื้อเรียบ
การรักษาและการพยาบาล
ขึ้นอยู่กับอาการและอายุครรภ์ ถ้ามีอาการมากโดยเฉพาะเป็นอาการของการอุดตันจากนิ่ว จาเป็นต้องให้การผ่าตัดเอานิ่วออก ไม่ว่าการตั้งครรภ์จะมีอายุเท่าใด อย่างไรก็ตามก็ผ่าตัดในระหว่างครึ่งหลังของการตั้งครรภ์ ซึ่งจะมีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงไตและท่อปัสสาวะค่อนข้างขยายใหญ่ และการเปิดพื้นที่ท่อปัสสาวะส่วนล่างทาค่อนข้างลาบาก เพราะมดลูกบังอยู่จึงไม่ควรผ่าตัดในระยะนี้ถ้าไม่จ่าเป็น ในการประคับประคองไปก่อนนั้นให้รักษาตามอาการ เช่น ยาแก้ปวดและให้น้าอย่างเพียงพอ