Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดอุปทานด้านสาธารณสุข - Coggle Diagram
แนวคิดอุปทานด้านสาธารณสุข
อุปทานด้านสุขภาพ
ปริมาณสินค้าหรือบริการทางสุขภาพที่ผู้ผลิตผู้ประกอบการยินดีนําเสนอออกมาขายหรื อบริ การในขณะหนึ่งขณะใดณ ระดับราคาสินค้าต่างกัน
ปัจจัยกำหนดอุปทาน
ราคาสินค้าชนิดนั้น PA
ราคาปัจจัยการผลิต (PB)
ต้นทุนการผลิต (C)
เทคโนโลยี (T)
ปัจจัยอื่น ๆ เช่น ธรรมชาติ (W)
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออุปทาน
การแข่งขันกนในตลาด
จํานวนผู้ผลิตหรือผู้ขายในตลาด
ราคาสินค้าอื่นที่ใช้ในการผลิต
การนัดหยุดงาน การขาดงาน
การแทรกแซงราคาของรัฐบาล
เทคโนโลยีในการผลิต
ราคาปัจจัยการผลิต
ปริมาณสินค้าคงคลัง
ความยากง่ายและระยะเวลาในการผลิต
ความหายากของปัจจัยการผลิต
อุปทาน
หมายถึง ปริมาณเสนอขาย สินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับต่างๆกันของ ราคาสินค้า ชนิดนั้นๆ
ปัจจัย/ตัวแปรที่เกี่ยวข้องในการพิจารณา
ตัวแปรนํา : ราคาสินค้า (P)
ตัวแปรตาม : ปริมาณเสนอขาย (Q)
Change in quantity supply
สภาวะที่ปริมาณการเสนอขายสินค้าเปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมาจากราคาสินค้านั้นเปลี่ยนไป โดยที่ปัจจัย กำหนดอุปทานอื่นๆ คงที่
Change in Supply
สภาวะที่อุปทานของสินค้าเปลี่ยนแปลงไป อันเนื่องมาจากปัจจัยอื่นนอกจากราคาเปลี่ยนแปลงไป มีผลทําให้เส้นอุปทานเคลื่อนไปทั้งเส้น
สมการอปทาน
ุ (supply equation)
สมการที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเสนอขายสินค้ากับราคาสินค้า
P = ราคาสินค้า
Q = ปริมาณเสนอขาย
c, d = ตัวเลขสัมประสิทธิ์, ค่าคงที่
– c : ผ้ผลิตจะเริ่มนําสินค้าออกขาย ณ ระดับราคาที่คุ้มกับต้นทุนการผลิต
Q =– c + d P
ปัจจัยที่ทำให้อุปทานเปลี่ยนแปลงไปทั้งเส้น
เทคโนโลยีการผลิต
ราคาปัจจัยการผลิต
ต้นทุนการผลิต
สภาพดินฟ้าอากาศ
สภาวะดุลยภาพ(Equilibrium)
สภาพสมดุลที่เกิดขึ้น ณ ระดับราคาที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงซื้อ ขายแล้ว ปริมาณเสนอซื้อเท่ากับปริมาณเสนอขายพอดี
equilibrium pointคือ จุดตัดระหวางเส้น ่ อุปสงค์และเส้นอุปทานที่ก่อให้เกิดราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ
equilibrium priceคือ ราคาที่ก่อให้เกิดดุลยภาพของตลาด
equilibrium quantityคือ ปริมาณการซื้อขายจริง
การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ
การเปลี่ยนแปลงเฉพาะเส้นอุปสงค์
การเปลี่ยนแปลงเฉพาะเส้นอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงทั้งเส้นอุปสงค์และอุปทาน