Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนในการสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ไทย - Coggle Diagram
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนในการสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ไทย
ซิมง เดอ ลาลู แบร์
เดินทางเข้ามาสัมพันธไมตรีในสมเด็จพระนาราย
จดหมายเหตุลาลูแบร์ราชาอาณาจักรสยามเป็นเกี่ยวกับเศรษฐกิจและราชสำนักสมัยนั้น
เฮนรี เบอร์นี
ทูตสมัยรัชกาลที่3 ทำสนธิสัญญาเบอร์นีมีความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอังกฤษ
ฟาน ฟลีต หรือ วัน วลิต
เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองบันทึกเกี่ยวกับสภาพสังคมเศรษฐกิจ และการเมืองสมัยอยุธยา
พระสังฆราชปาลเลอกัวซ์
เล่าเรื่องกรุงสยาม เป็นเรื่องเกี่ยวกับสภาพสังคมสมัยรัตนโกสินทร์กับเข้ามาเผยแพร่ศาสนาในสมัยรัชกาลที่3
นิโคลาส์แซรแวส
เข้ามาในสมัยพระนารายณ์มหาราช ประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยามให้ข้อมูลด้านภูมิศาสตร์ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวไทย
เซอร์จอหน์ เบาว์ริง
เข้ามาในสมัยรัชกาลที่4 ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทยในอดีตด้านภูมิศาสตร์ขนบธรรมเนียมประเพณีภาษาและศาสนา ทำสมธิสัญญาเบาว์ริง
ผู้มีบทบาทด้านการแพทย์
จอร์จ บี. แมคฟาร์แลนด์
เป็นแพทย์ด้านการทำฟันเป็นอาจารย์สอนนักศึกษาแพทย์ชาวไทยเปิดคลินิกรักษาโรค ได้บรรดาศักดิ์ เป็นพระอาจารย์วิทยาคม
หมอบรัดเลย์
นำวิธีการผ่าตัดมาใช้ในประเทศไทยเป็นครั้งแรกและเผยแพร่การปลูกฝีฉีดวัคซีน
หมอเฮาส์
เป็นหมอที่รักษาคนไข้ในช่วงโรคระบาดและยังเป็นแพทย์ที่ผ่าตัดโดยใช้ยาสลบคนแรกของไทย
ผู้มีบทบาทด้านการศึกษา
บาทหลวงเอมิล ออกุสต์ กอลมเบิร์ต
ก่อตั้งโรงเรียนอัสสัมชัญ
เจษฎาจารย์ ฟ. ฮีแลร์
เป็นผู้จัดตั้งคณะภารดาเซนต์คาเบรียลหลายแห่ง
ดร. ซามูแอล อาร์เฮาส์ และ ศาสนาจารย์สตีเวน แมตทูน
ได้เปิดโรงเรียนสำหรับเด็กชาย ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็นโรงเรียนชายแห่งแรกของไทยคือโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน
ผู้มีบทบาทด้านศิลปกรรม
ศาสตราจารย์ พีระศรี ศิลปินชาวอิตาลี
ออกแบบปั้นและควบคุมการหล่อพระบรมราชานุสาวรีย์และอนุสาวรีย์ที่สำคัญ ก่อตั้งมหาลัยศิลปากร
นายคารล์ ดอริง ชาวเยอรมัน
พระรามราชนิเวศน์และตำหนักบางขุนพรหม
นายริโกลี จิตรกรชาวอิตาลี
ภาพจิตรกรรมพระอุโบสถวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร ภาพจิตกรรมเพดานพระที่นั่งอนันตสมาคม
นายศิวัช หน่อแก้ว ม.4/3 เลขที่ 12