Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาการนอนหลับในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
ปัญหาการนอนหลับในผู้สูงอายุ
ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการนอนหลับในผู้สูงอายุ
ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงด้านการนอนหลับที่เกิดจากกระบวนการสูงอายุโดยตรง
ลดลง
ประสิทธิภาพของการนอนหลับ
สัดส่วนของ REM sleep ต่อการนอนหลับทั้งหมด
สัดส่วนการเกิด slow wave sleep
ความกว้างของ slow wave sleep ซึ่งเป็นคลื่นที่พบขณะหลับลึก
สัดส่วนของระยะหลับลึก
เพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนระยะการนอนหลับ
ระยะตื่น
การตื่นในช่วงเวลาการนอนหลับ
ระยะเวลาตั้งแต่เข้านอนจนถึงเริ่ม
การนอนกลางวัน
ระยะหลับตื้น
ความต้านทานต่อความง่วง
การนอนหลับไม่เพียงพอ
วงจรชีวภาพที่มีระยะการนอนหลับเกิดเร็วขึ้น
ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงด้านการนอนหลับที่ไม่เกิดจากกระบวนการสูงอายุโดยตรง
ปัจจัยด้านสุขภาพ
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ต้องตื่นนอนจากการหยุดหายใจและการหายใจลำบาก
แผลในกระเพาะอาหาร อาการมากขึ้นในเวลากลางคืนจากการหลั่งกรดมากขึ้นในระยะ REM
โรคไตเรื้อรัง ขากระตุกขยับผิดปกติ (RLS) แขนขากระตุกขยับผิดปกติ (PLMS) การหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น (OSA) มากขึ้น
โรคความดันโลหิตสูง ตื่นนอนตอนเช้าเร็วขึ้น
ปัจจัยด้านการใช้ยา
ยากลุ่ม phenytoin ป้องกันอาการชักรบกวนทั้งเวลาและระยะของการนอนหลับ
ยากลุ่ม benzodiazepines รักษาอาการนอนไม่หลับภาวะลมชักหรือคลายตื่นนอนเพราะหยุดหายใจความวิตกกังวล
ยากลุ่ม benzodiazepines รักษาอาการนอนไม่หลับภาวะลมชักหรือคลายตื่นนอนเพราะหยุดหายใจความวิตกกังวล
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
เสียง อุณหภูมิห้องสูงหรือต่ำมากเกินไป แสงที่มากเกินไปตอนกลางคืน
ด้านจิตใจ / จิตสังคม
ความผาสุกด้านจิตใจ การยอมรับตนเองความพึงพอใจในชีวิต การอยู่ร่วมกับครอบครัว สัมพันธภาพกับบุคคลรอบข้าง ความวิตกกังวล ทัศนคติ / ความเชื่อที่ไม่ถูกต้อง ความเหงา / โดดเดี่ยว ภาวะซึมเศร้าบุคลิกภาพแบบหวั่นไหว
ปัจจัยด้านพฤติกรรม
แบบแผนการนอนหลับ การนอนกลางวัน การได้รับสารต่าง ๆ แอลกอฮอล์ การทำงานเป็นผลัด
การประเมินปัญหาการนอนหลับในผู้สูงอายุ
แบบประเมินเพื่อประเมินหาสาเหตุของปัญหาการนอนหลับในผู้สูงอายุ
แบบประเมินทางจิต
TGDS
9Q
2Q
แบบประเมินอื่นๆ
Fatigue severity scale
SF-36
แบบสอบถามโรคทางกาย แบบประเมินการรู้คิด
MMSE-Thai
TMSE
MoCA
แบบประเมินการนอนหลับ
แบบทดสอบระดับความง่วงนอน (EES)
แบบประเมินภาวะหยุดหายใจขณะหลับ STOP-Bang
แบบประเมินคุณภาพการนอนหลับ (PSQI)
แบบประเมินอาการนอนไม่หลับ (ISI)
แบบประเมินความเชื่อและทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการนอนหลับ (DBAS)
แบบประเมินสิ่งเร้าก่อนการนอนหลับ (PSAS)
การประเมินทางการพยาบาล
การตรวจคุณภาพการนอนหลับ 4 ระดับ
ระดับ 1-2 ตรวจการนอนหลับที่โรงพยาบาลในผู้ที่ต้องการความแม่นยำสูง = มีอาการหยุดหายใจขณะหลับ เป็นโรคลมชัก โรคนอนไม่หลับ โรคขากระตุก
ระดับ 3-4 ความละเอียดน้อยกว่า สามารถตรวจเองได้ที่บ้านได้โดยระดับ 4 เป็นการวัด ระดับออกซิเจนในเลือดขณะหลับ
objective data = สังเกตพฤติกรรม, การตรวจร่างกาย, การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
subjective data = การซักประวัติ
ปัญหาการนอนหลับผิดปกติที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
การนอนหลับมากผิดปกติจากสาเหตุทางระบบประสาทส่วนกลาง
มีสาเหตุเกิดจากภาวะสุขภาพ เข่น ภาวะซึมเศร้า
การนอนหลับมากผิดปกติที่ไม่ทราบสาเหตุ
ความผิดปกติของวงจรการนอนหลับ
advanced sleep phase syndrome มีการนอนหลับในเวลาเร็วขึ้น ประมาณ 20-21 น และตื่นเช้าตรู่ประมาณ 4-5น
ความผิดปกติของการหายใจที่สัมพันธ์กับการนอน
ภาวะหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น
พฤติกรรมหรือการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาผิดปกติที่เกิดในช่วงของการนอนหลับ
มีการเคลื่อนไหวของร่างกายหรือมีการส่งเสียงผิดปกติใน secondary RLS
ปัญหาการนอนไม่หลับ
นอนหลับยาก คือการนอนลำบาก
ตื่นนอนเร็วกว่าปกติที่ควรจะเป็น
หลับๆตื่นๆหรือตื่นบ่อย
การเคลื่อนไหวผิดปกติที่สัมพันธ์กับการนอนหลับ
แขนขากระตุกขยับผิดปกติในขณะหลับหรือโรคขากระตุกขณะหลับ
ขากระตุกขยับผิดปกติในขณะตื่นหรือโรคขาไม่อยู่สุข
การจัดการทางการพยาบาลเพื่อส่งเสริมการนอนหลับที่เหมาะสมในผู้สูงอายุ
การประเมินผลทางการพยาบาลที่ครอบคลุมผลลัพธ์ที่ต้องการ
การปฏิบัติการพยาบาลเพื่อส่งเสริมการนอนหลับที่มีคุณภาพ
การวินิจฉัยปัญหาทางการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับการนอนหลับ
การประเมินทางการพยาบาลที่ครอบคลุมแบบแผนการนอนหลับเดิม