Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Trait Factor Analysis ทฤษฎีบุคลิกภาพโดยแบ่งตามคุณลักษณะเฉพาะตัว - Coggle…
Trait Factor Analysis
ทฤษฎีบุคลิกภาพโดยแบ่งตามคุณลักษณะเฉพาะตัว
ความเป็นมาของทฤษฎี
ยุคที่ 1 พัฒนาวิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผล
ความสนใจ
เจตคติ
ความถนัด
บุคลิกภาพ
ยุคที่ 2 พัฒนาแนวคิดและรูปแบบการให้การปรึกษา
ด้านอาชีพ
ด้านการปรับตัว
ด้านการศึกษา
แบ่งออกเป็น 6 ขั้น
โดย Williamson และ Darlay
การวิเคราะห์ข้อมูล
การสังเคราะห์ข้อมูล
การวินิจฉัย
การคาดคะเน
การให้การปรึกษา
การติดตามผล
ยุคที่ 3 การศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์องค์ประกอบ
ได้รับอิทธิพลจาก Thurstone
ยุคที่ 4 การพัฒนาปรัชญาทฤษฎีและรูปแบบของการให้การปรึกษาให้เป็นระบบมากขึ้น
นักจิตวิทยา
E.G. Williamson
มีชื่อเสียงมากที่สุด
Cattell
นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
เป็นผู้เริ่มศึกษาค้นคว้า
Spearman
จำแนกตัวร่วมของลักษณะนิสัยในแบบทดสอบต่างๆ
G - factor
S - factor
Thurstone
พัฒนามาเป็นแบบทดสอบทางจิตวิทยาการศึกษา Factor Analysis
Darlay
Walter Bingham John
เป้าหมายของทฤษฎี
เป้าหมายระยะยาว
ให้ผู้รับการปรึกษาเกิดการเรียนรู้เพิ่มเติมในสิ่งที่พึงประสงค์
ให้ผู้รับการปรึกษาสามารถประยุกต์ใช้ประสบการณ์การเรียนรู้ต่อการดำรงชีวิตประจำวัน
ให้ผู้รับการปรึกษามีประสบการณ์ในการสำรวจตนเองเมื่อมีอารมณ์ ความรู้สึกที่ไร้เหตุผล
ให้ผู้รับการปรึกษาเกิดการเรียนรู้ซึ่งนำไปสู่การค้นพบตนเอง
ให้ผู้รับการปรึกษามีประสบการณ์เรียนรู้ใหม่ๆที่เหมาะสม
เป้าหมายเฉพาะหน้า
ผู้รับบริการรู้จักลักษณะเฉพาะตัวของตนเองในด้านต่างๆ
ผู้รับบริการมีทักษะในการตัดสินใจด้วยตัวเองอย่างมีประสิทธิภาพ
ให้ผู้รับบริการเกิดความรู้เกี่ยวกับกระบวนการตัดสินใจ
เทคนิคที่ใช้ในการให้การปรึกษา
การสร้างสัมพันธภาพกับผู้รับการปรึกษา
การช่วยให้ผู้รับการปรึกษาเข้าใจตนเองและสภาพแวดล้อม
วิเคราะห์ข้อมูล
สังเคราะห์ข้อมูล
รวบรวมข้อมูล
การวินิจฉัย
การระบุประเด็นสำคัญของปัญหา
การค้นหาสาเหตุของปัญหา
การคาดคะเนอนาคต
การให้คำแนะนำและช่วยเหลือผู้รับการปรึกษาในการแก้ไขปัญหา
เทคนิคการให้คำแนะนำโดยตรง
เทคนิคการจูงใจ
เทคนิคการอธิบาย
ช่วยให้ผู้รับการปรึกษาสามารถดำเนินงานตามแผนที่วางไว้
การส่งต่อผู้รับการปรึกษาไปรับความช่วยเหลือจากผู้อื่น
การติดตามผล
ข้อสังเกตในเรื่องวิธีการและบทบาทผู้ให้การปรึกษา
ให้ความสำคัญในเรื่องการใช้เครื่องมือทางจิตวิทยา
เน้นการใช้กระบวนการให้เกิดความช่วยเหลือทางวิทยาศาสตร์
ให้ผู้รับการปรึกษาใช้ศักยภาพของตนอย่างเต็มที่
เป็นวิธีการให้การปรึกษาแบบนำทาง
ให้ความสำคัญกับเหตุผลและข้อมูลที่ใช้มาพิจารณาในการตัดสินใจแก้ปัญหา