Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.13 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะจิตเวช - Coggle Diagram
บทที่ 5.13
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะจิตเวช
ความผิดปกติของความคิด การรับรู้ พฤติกรรม อารมณ์ และการสื่อสาร
โดยอาจเริ่มต้นที่สัมพันธภาพบกพร่อง ไม่ค่อยสนใจสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อการ ดำเนินชีวิต ครอบครัวและสังคมเป็ นอันมาก
เกณฑ์การวินิจฉัยโรคตามระบบการจำแนกโรคของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน (DSM -5 )
A.มีอาการต่อไปนี้ อย่างน้อย 2 อาการในช่วงเวลา 1 เดือน (หรือน้อยกว่านี้หากได้รับการบำบัดรักษา) และอาการอย่างน้อย 1 อย่าง ต้องเป็ นอาการในข้อ 1,2 หรือ 3
3.ความผิดปกติของการพูด (disorganized speech)
4.ความผิดปกติของพฤติกรรม(disorganized behavior)
2.ประสาทหลอน(hallucination)
5.อาการด้านลบ (negative symptom)
หลงผิด (delusion)
B. มีปัญหาด้านการเข้าสังคม การงาน สัมพันธภาพ หรือสุขอนามัยของตนเอง
C.มีอาการผิดปกติต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือนซึ่งตองมีอาการในข้อ A อย่างน้อย 1 เดือน
D. ไม่มีอาการเข้าได้กับโรค Schizoaffective disorder หรือโรคในกลุ่มซึมเศร้าหรือ Bipolar disorder
E. อาการไม่ได้เกิดจากยาหรือสารเสพติดหรือโรคทางกาย
F. หากมีประวัติของโรค Autism spectrum disorder หรือ Communication disorder ที่เป็นในวัยเด็กจะวินิจฉัยโรคจิตเภทร่วมด้วยได้ต่อเมื่อมีอาการหลงผิดหรือประสาทหลอนเป็นอาการเด่นเพิ่มจากข้ออื่นในข้อ A.นานอย่างน้อย
1 เดือน(หรือน้อยกว่าหากการรักษาได้ผลดี)
ลักษณะอาการของโรคจิตเภท
อาการด้านบวก(Positive symptoms)
• แสดงพฤติกรรม การเคลื่อนไหวแปลก ปนะหลาด
• สื่อสารผิดปกติ พูดไม่รู้เรื่อง ตอบไม่ตรงคำถาม
• ประสาทหลอน หูแว่ว ภาพหลอน
• พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง โวยวาย ก้าวร้าว
• ความคิดผิดปกติ หลงผิด หวาดระแวง
อาการด้านลบ(Negative symptoms)
• แยกตนเอง ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
• ขาดแรงบันดานใจ ขาดความคิดสร้างสรรค์
• พูดน้องหรือไม่พูดเลย สัทพันธภาพไม่ไดี
• ขาดความกระตือรือร้น เฉื่อยชา
• อารมณ์เฉยเมย ไร้อารมณ์
ยูเจน บลูเลอร์ ประกอบด้วยอาการ 4 A’s
Affective disturbance การแสดงอารมณ์ที่ไม่สอดคล้องกับเรื่องที่พูด เช่นพูดเรื่องเศร้ากลับหัวเราะหรืออารมณ์ไม่สมเหตุสมผล เช่นร้องไห้โดยไม่มีสาเหตุ หัวเราะเรื่อยเปื่อย
Autistic thinking อยู่ในโลกของตัวเอง คิดหมกมุ่น ไม่อยู่ในโลกของความจริง
Associative disturbance ความคิดไม่ต่อเนื่องกันขาดความเชื่อมโยงของความคิด แสดงออกโดยการพูดจาวกวนฟังไม่รู้เรื่องว่าพูดเรื่องอะไร
Ambivalence ลังเลใจ ตัดสินใจไม่เด็ดขาดคิดกลับไปกลับมา
สาเหตุของโรคจิตเภท
ปัจจัยด้านชีวภาพ ( Biological factors)
1.1 พันธุกรรม ( Genetics)
1.2 สารชีวเคมีในสมอง ( Biochemical factors ) เช่น โดปามีน (Dopamine) ซีโรโทนิน ( Serotonin)
1.3 กายภาพของสมองที่ผิดปกติ พบว่าส่วนของ lateral ventricles ขยายใหญ่กว่าปกติ และ cortical สองด้านไม่เท่ากันมีสภาพเหี่ยวลีบเล็กลง
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
2.1 ความขัดแย้งภายในจิตใจ การใช้กลไกทางจิตที่ไม่เหมาะสม ครอบครัวที่มีการแสดงอารมณ์ต่อกันสูงเช่นการวิพากษ์วิจารณ์ การจู้จี ้ ไม่เป็ นมิตร เป็ นต้น
2.2 กระบวนการพัฒนาการ และสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ลักษณะการเลี ้ยงดูในวัยเด็ก ที่ส่งผลต่อกระบวนการพัฒนาทางจิตใจ
2.3 ความเครียด ความเครียดที่ท าให้บุคคลที่มีแนวโน้มจะป่ วยอยู่แล้วสามารถแสดงอาการทางจิตได
2.4 สภาพสังคมและวัฒนธรรม ครอบครัวที่มีเศษฐานะต ่า สภาพชีวิตที่ขาดแคลน ขาดสารอาหาร ที่อยู่อาศัยที่แออัด สกปรก การตั ้งครรภ์ที่ไม่มีคุณภาพ หรือขาดการสนับสนุนช่วยเหลือเมื่อเกิดปัญหา
การบำบัดรักษา
• การรักษาด้วยยา
จำเป็นที่สุด ยากลุ่มต้านโรคจิตเพื่อควบคุมอาการ ดดยกินยาต่อเนื่อง 4-6 สัปดาห์ เมื่ออาการสงบ ต้องกินยาต่อเนื่องไปอีก 6 เดือน
การรักษาแบ่งเป็น 3 ระยะ
2) ระยะควบคุมอาการให้คงที่ (stabilization phase)
เพื่อควบคุมอาการและลดโอกาสที่อาการจะรุนแรงขึ้น หลังจากอาการสงบแล้วต้องได้รับยาขนาดเดิมต่อเนื่องอีก 6 เดือน
3) ระยะคงที่ (maintainance phase)
เพื่อป้องกันการกำเริบและส่งเสริมการฟื้นฟูทางจิตเวชโดยแพทย์จะให้ยาขนาดต่ำต่อเนื่องที่จะควบคุมอาการได้
1) ระยะเฉียบพลัน(acute phase)
เพื่อช่วยลดอาการทางจิตของผู้ป่วยและคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยและบุคคลอื่น
• การรักษาด้วยไฟฟ้า(ECT)
ในผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองด้วยยา มีอาการรุนแรงมากหรือเสี่ยงต่อการทำร้ายตนเอง
• การรักษาแบบผู้ป่วยใน
อาการทางจิตรุนแรง วุ่นวายมาก เป็นอันตราย มีอาการข้างเคียงของยา ไม่กินยา อาการกำเริบ
• การรักษาทางจิตสังคม
ทำควบคู่ไปกับการรักษาด้วยยาในระยะคงที่
กระบวนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาลตามพฤติกรรมปัญหา
การวินิจฉัยการพยาบาล
2.1 ความคิดและการรับรู้ผิดปกติเนื่องจากสารเคมีในสมองไม่สมดุล
ข้อมูลสนับสนุน
-หลงผิดว่าตนเองเป็นคนใหญ่โต
-หูแว่วเป็ นเสียงคนมาด่าว่า
2.2 มีแนวโน้มเป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่นเนื่องจากหลงผิดว่ามีคนคอยทำร้าย
ข้อมูลสนับสนุน
-มีท่าทีตื่นกลัว บอกว่ารู้สึกไม่ปลอดภัย คนข้างบ้านจะทำร้าย - มีท่าทางก้าวร้าว หงุดหงิด เวลาถูกชักชวนให้ออกมานอกห้อง
2.3 สัมพันธภาพบกพร่องเนื่องจากแยกตัวเองและไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
ข้อมูลสนับสนุน
-หลบหน้า เก็บตัวอยู่ในห้อง ไม่พูดคุยกับใคร -เฉื่อยชา ไม่กระตือรือร้นที่จะมีกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
2.4 บกพร่องในการดูแลกิจวัตรประจำวันเนื่องจากหมกมุ่นอยู่ในโลกส่วนตัว
ข้อมูลสนับสนุน
-ไม่อาบน้ำเสื้อผ้าและเนื้อตัวสกปรกมีกลิ่นเหม็น -แยกตนเอง ไม่สนใจสิ่งแวดล้อมภายนอก
2.5 อาการเป็นนซ้ำเนื่องจากปฏิเสธการรักษาและรับประทานยาไม่ต่อเนื่อง
ข้อมูลสนับสนุน
-บอกว่า ไม่ได้เป็นอะไร หายแล้ว ไม่จำเป็นนต้องกินยา -ขาดยาแล้วมีอาการคลุ้มคลั่ง เอะอะ พูดไม่รู้เรื่องก่อนมาโรงพยาบาล 3 วัน
การประเมินผู้ป่วย (assessment)
1.3 การพูดสื่อสาร
การตอบคำถาม ผู้ป่วยบางคนจะพูดวกวน หรือพูดเร็วจนจับใจความไม่ได้หรือไม่พูดการหยุดชะงักของคำพูด
1.4 เนื้อหาความคิด
หลงผิดเป็นเรื่องที่ไม่เป็นจริง คิดว่ามีคนคอยติดตาม ไม่หวังดี นินทา ให้ร้าย
1.2 อารมณ์
ลักษณะการแสดงอารมณ์ อารมณ์ไม่เหมาะสมกับเหตุการณ์หรือเฉยเมย ไม่แสดงอารมณ์ใดๆถ้าถูกขัดใจ น้ำเสียง ก้าวร้าว รุนแรง คลุ้มคลั่งได้
1.5 การรับรู้ความเป็นจริง
อาการประสาทหลอนผู้ป่วยไม่พูดตรงๆ จะสังเกตได้จากการเอามือป้องหูหรือการพูดคนเดียว
1.1 สภาพทั่วไป
ลักษณะของผู้ป่วย เพศ วัย การแต่งกาย ความสะอาด สุขอนามัย การดูแลตนเอง การเคลื่อนไหว บาดแผล (ถ้ามี) สภาพที่ญาตินำมาส่งโรงพยาบาล
1.6 การตระหนักต่อความเจ็บป่วยของตนเอง
ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะไม่รับว่าตนเองป่วยมักบอกว่ามาโรงพยาบาลด้วยเหตุอื่น