Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แบบจำลองฐานข้อมูล (Data Model) - Coggle Diagram
แบบจำลองฐานข้อมูล
(Data Model)
ความหมายของแบบจำลองข้อมูล
แบบจำลองข้อมูล คือ โครงสร้างข้อมูลระดับตรรกะที่นำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลให้ผู้ใช้เห็นและเข้าใจได้
แบบจำลองข้อมูล คือ เทคนิคที่นำมาใช้จัดการโครงสร้างและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในระบบ
องค์ประกอบของฐานข้อมูล
1) เอนติตี้ (Entity)
2) ลักษณะเฉพาะของเอนติตี้ (Data items หรือ Attribute)
3) ระเบียนหรือเรคคอร์ด (Records)
4) แฟ้มข้อมูล (File)
5) ฐานข้อมูล (Database)
ความสัมพันธ์ของข้อมูล
1) ความสัมพันธ์แบบ 1:1 (One to One )
2) ความสัมพันธ์แบบ 1:N (One to Many)
3) ความสัมพันธ์แบบ M:N (Many to Many)
วัตถุประสงค์ของแบบจำลองข้อมูล
เพื่อนำแนวคิดต่าง ๆ มาเสนอให้เกิดเป็นแบบจำลอง
เพื่อนำเสนอข้อมูลและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในรูปแบบที่เข้าใจง่าย
เพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างผู้ออกแบบฐานข้อมูลกับผู้ใช้ให้ตรงกัน ใช้งานง่าย
ประเภทของแบบจำลองข้อมูล
Implementation Model ใช้อธิบายโครงสร้างของฐานข้อมูลแต่ละประเภท เช่น Hierarchical DB Model, Network DB Model และ Relational DB Model
1.Conceptual Model เป็นแบบจำลองที่นำมาใช้ออกแบบฐานข้อมูล เพื่อแสดงให้เห็น ข้อมูลและความสัมพันธ์ แบบจำลองของฐานข้อมูลนิยมใช้ Entity-Relationship Model (E-R Model) และ Object-Oriented Model
คุณสมบัติของแบบจำลองข้อมูลที่ดี
ง่ายต่อความเข้าใจ
มีสาระสำคัญและไม่ซ้ำซ้อน
มีความยืดหยุ่นและง่ายต่อการปรับปรุงในอนาคต
ประเภทของแบบจำลองข้อมูล
โครงสร้างแบบตามลำดับชั้น (Hierarchical Model)
2.โครงสร้างแบบเครือข่าย (Network Model)
3.โครงสร้างแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Model)
แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น
(Hierarchical Database Model)
ลักษณะเด่นของฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น
เป็นฐานข้อมูลที่มีระบบโครงสร้างซับซ้อนน้อยที่สุด
มีค่าใช้จ่ายในการสร้างฐานข้อมูลน้อย
ลักษณะโครงสร้างเข้าใจง่าย
เหมาะสำหรับงานที่ต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเงื่อนไขเป็นระดับและออกรายงานแบบเรียงลำดับต่อเนื่อง
ป้องกันระบบความลับของข้อมูลได้ดี เนื่องจากต้องอ่านแฟ้มข้อมูลที่เป็นต้นกำเนิดก่อน
ข้อเสียของฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น
Record ลูก ไม่สามารถมี record พ่อหลายคนได้
มีความยืดหยุ่นน้อย เพราะการปรับโครงสร้างของ Tree ค่อนข้างยุ่งยาก
มีโอกาสเกิดความซ้ำซ้อนมาก
หากข้อมูลมีจำนวนมาก การเข้าถึงข้อมูลจะใช้เวลานานในการค้นหา
แบบจำลองฐานข้อมูลแบบเครือข่าย
(Network Database Model)
ข้อดีแบบจำลองฐานข้อมูลแบบเครือข่าย 2
ช่วยลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลได้ทั้งหมด
สามารถเชื่อมโยงข้อมูลแบบไป-กลับ ได้
สะดวกในการค้นหามากกว่า
ข้อเสียแบบจำลองฐานข้อมูลแบบเครือข่าย 2
ความสัมพันธ์ข้อมูลที่เชื่อมโยงกันไปมาทำให้ยากต่อการใช้งาน
ผู้ใช้ต้องเข้าใจโครงสร้างของฐานข้อมูล
เหมาะสำหรับโปรแกรมเมอร์ที่คุ้นเคย ไม่เหมาะสำหรับผู้ใช้งานทั่วไป
มีค่าใช้จ่ายและสิ้นเปลืองพื้นที่ในหน่วยความจำ
โครงสร้างแบบเครือข่ายเป็นโครงสร้างที่ง่ายไม่ซับซ้อนเนื่องจากไม่ต้องอ่านแฟ้มข้อมูลที่เป็นต้นกำเนิดก่อน
แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ข้อดีแบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
1.เหมาะกับงานที่เลือกดูข้อมูลแบบมีเงื่อนไขหลายคีย์ฟิลด์ข้อมูล
2.ป้องกันข้อมูลถูกทำลายหรือแก้ไขได้ดี
3.การเลือกดูข้อมูลทำได้ง่าย
4.เมื่อผู้ใช้ต้องการข้อมูลในตารางจะใช้วิธีเปรียบเทียบค่าของข้อมูลแทน โดยไม่ต้องรู้ว่าข้อมูลนั้นเก็บอย่างไร
5.ง่ายในการทำความเข้าใจ
6.ได้รับความนิยมมากจนถึงปัจจุบัน
ข้อเสียแบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
1.การแก้ไขปรับปรุงแฟ้มข้อมูลได้ยาก
2.ค่าใช้จ่ายสูง
ประเภทของคีย์ KEY
1.คีย์หลัก (Primary Key)
คีย์ลำดับรอง (Secondary Key)
3.คีย์คู่แข่ง (Candidate Key)
4.คีย์รวม (Compound Key)
5.คีย์นอก (Foreign Key)
ชนิดของข้อมูล (Data Type)
String จัดเก็บ ตัวหนังสือ ตัวอักษร
Numeric จัดเก็บตัวเลข
Date and Time จัดเก็บ วัน , เวลา