Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคหัวใจร่วมกับการตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงของหัวใจและหลอดเลือดในครรภ์ปกติ
แรงต้านทานในเส้นเลือดทั่วไปลดลงถึงต่ำสุดในไตรมาสที่2
หัวใจมี left axis deviation และ tricuspid redurgitation
CO เพิ่มมากขึ้นทันทีช่วงหลังคลอด
CO เพิ่มขึ้นร้อยละ 30-40 ตั้งแต่อายุครรภ์ 6wk
เลือดแข็งตัวได้ง่ายขึ้นเล็กน้อย
ปริมาณเลือดเพิ่มขึ้น 40-50% ครรภ์แฝดเพิ่ม 70%
ผลของโรคหัวใจต่อการตั้งครรภ์
เพิ่มอัตราภาวะโตช้าในครรภ์
เพิ่มอัตราทารกหัวใจพิการโดยกำเนิด
เพิ่มการตายปริกำเนิด
เพิ่มอัตราการแท้งเอง คลอดก่อนกำหนด
การทำแท้งเพื่อการรักษา เพื่อป้องกันอันตรายในมารดาบางราย
การจำแนกความรุนแรงของโรคหัวใจ
Class 2 Slightly compromised : สบายดีขณะพัก ทำงานตามปกติจะรู้สึกเหนื่อย
Class 3 Markedly compromised : สบายดีขณะพัก ทำงานเล็กน้อยก็จะรู้สึกเหนื่อย
Class 1 Uncompromised : ทำงานตามปกติโดยไม่รู้สึกเหนื่อย
Class 4 Severely compromised : หอบเหนื่อยแม้ขณะพัก
การดูแลรักษาทั่วไป
Class 2 : ควรนอนโรงพยาบาลตลอดไตรมาสสุดท้ายจนคลอด
Class 3 , Class 4 : ชนิดรุนแรง นอนโรงพยาบาลตลอดการตั้งครรภ์
Class 1 : รับไว้ในโรงพยาบาลอย่างน้อย
1wk ก่อนครรภ์ครบกำหนด
การทำแท้ง : ทำในรายที่
มีประวัติหัวใจล้มเหลวมาก่อนซึ่งยังไม่ได้แก้ไขสาเหตุ
พยาธิสภาพรุนแรง มีความเสี่ยงต่อการตายสูง
โรคหัวใจ Class 3 , 4
หัวใจอักเสบหรือกำลังอักเสบรุนแรงจากไข้รูห์มาติค
การดูแลระยะคลอด
ระวังหัวใจล้มเหลว
ให้ยาปฏิชีวนะป้องกัน bacterial endocarditis ในรายที่มีการติดเชื้อ
ยาแก้ปวด ยาชาแบบ Continuous epidural block
ระวังไม่ให้เกิดความดันโลหิตต่ำ
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องแนะนำให้ใช้วิธีดมยาสลบ
ช่วยคลอดด้วยคีมหรือเครื่องดึงสุญญากาศ ร่นเวลาเจ็บครรภ์ของระยะนี้ ไม่ต้องให้มารดาออกแรงเบ่งคลอด
นอนในท่า Semirecumbent
หลังคลอดหัวใจล้มเหลวได้ง่าย เฝ้าสังเกตผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
ระวังเรื่องการตกเลือด การติดเชื้อหลังคลอด
ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆ ให้เลี้ยงลูกด้วยนมมารดาได้
รับไว้ในโรงพยาบาลก่อนคลอด คลอดทางช่องคลอด
การผ่าตัดควรถือตามข้อบ่งชี้ทางสูติศาสตร์
การคุมกำเนิด
หลีกเลี่ยงการใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดที่มีเอสโตรเจน
หลีกเลี่ยงการใส่ห่วงอนามัย
ทำหมันเมื่อระบบหัวใจและหลอดเลือดปกติดีแล้ว