Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพสาหรับวัยเด็ก, EABAB96D-F872-4EA7-A35A-FFF8CDB18E53,…
การสร้างเสริมสุขภาพสาหรับวัยเด็ก
1.เด็กวัยทารก
เด็กทารก (Infancy) เริ่มจากอายุแรกเกิดถึง 1 ปี เป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการอยําง รวดเร็ว ทางด้านกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา เป็นวัยแหํงการวางรากฐานเพื่อพัฒนาไปสูํขั้นตอนตํอๆไป
พัฒนาการของเด็กทารก
ในชํวงนี้ด่านร่างกาย เด็กจะเติบโตอย่างรวดเร็วตํอเนื่อง และสามารถสังเกตเห็นได้อยํางชัดเจน ตั้งแต่ การปรับตัวทางสรีระหรือระบบตํางๆของร่างกาย โดยเฉพาะการเจริญเติบโตมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
ปัญหาสุขภาพที่สาคัญและพฤติกรรมเสี่ยงในเด็กวัยทารก
1.ปัญหาทางร่างกายที่พบบ่อยในทารก
ภาวะตัวเหลือง
อาเจียน
สะอึก
ท้องผูก
ท้องร่วง
ความผิการแต่กำเนิด
2.ปัญหาจากสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของทารกด้านจิตใจ
อารมณ์ไม่พอใจและตื่นเต้น
อารมณ์โกรธ
3.ปัญหาจากสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของทารกด้านสังคม
การกลัวคนแปลกหน้า
1.3 การประเมินสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพวัยทารก
1) การประเมินด้านการเจริญเติบโต
2.การประเมินพัฒนาการ
3) การประเมินสุขภาพโดยใช้แบบแผนสุขภาพ
สามารถทำได้โดยการตรวจรํางกายและซักประวัติจากผู้เลี้ยงดู แบ่งข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท คือ Objective data เป็นข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การตรวจร่างกาย การวัดการเจริญเติบโต
Subjective data เป็นข้อมูลที่ได้จากการซักประวัติจากตัวผู้ป่วย ผู้เลี้ยงดูคนใกล้ชิด
แบบแผนสุขภาขภาพวัยทารก
การรับรู้สุขภาพและการดูแลสุขภาพ
อาหารและการเผาผลาญอาหาร
กิจกรรมและการออกกาลังกาย
การนอนหลับพักผ่อน
สติปัญญาและการรับรู้
บทบาทและสัมพันธภาพ
การปรับตัวและการทนทานกับความเครียด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
การดูแลสุขภาพของบุตรเหมาะสม
การขับถํายอุจจาระ/ปัสสาวะปกต
การนอนหลับพักผ่อน การนอนหลับพักผ่อนเพียงพอ
ระบบภูมิคุ้มกันของรํางกายมีประสิทธิภาพ
ด้านการป้องกันความเจ็บป่วย
การป้องกันอุบัติเหตุไมํเหมาะสม
ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันไมํเหมาะสมกับวัย
การดูแลสุขภาพฟันไม่เหมาะสม
เสี่ยงตํอการติดเชื้อ
1.4 แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพวัยทารก
1) การสร้างเสริมสุขภาพด้านร่างกาย
2) การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตใจ
3) การสร้างเสริมสุขภาพด้านสังคม
1 more item...
การประเมินพัฒนาการของเด็กสามารถประเมินได้จาก แบบทดสอบ Denver Development Test (DDST) ปัจจุบันพัฒนาเป็น Denver II ซึ่งแบบทดสอบประเมินองค์เป็นผู้เชี่ยวชาญที่ผ่านการอบรม มาแล้ว ผู้ดูแลเด็กสามารถสังเกตพัฒนาการอย่างง่ายโดยการใช้สมุดบันทึกอนามัยแมํและเด็ก ที่มี พัฒนาการตํางๆพร้อมรูปประกอบ ถ้าเด็กไม่สามารถทาได้ตามสมุด ควรแนะนำต้องรีบมาพบแพทย์
ความสูงหรือความยาว
น้ำหนัก
ขนาดของรอบศรีษะ
รอบอกรอบท้อง
การขึ้นของฟัน
เด็กก่อนวัยเรียน (Pre-school)
2.1 พัฒนาการของเด็กก่อนวัยเรียน
2.2 ปัญหาสุขภาพที่สาคัญและพฤติกรรมเสี่ยงในเด็กก่อนวัยเรียน
1) ปัญหาสุขภาพที่สาคัญและพฤติกรรมเสี่ยงในเด็กก่อนวัยเรียนด้านร่างกาย
ปัญหาภาวะโภชนาการ
ปัสสาวะรดที่นอน
ปัญหาสุขภาพในช่องปาก
2) ปัญหาสุขภาพที่สาคัญและพฤติกรรมเสี่ยงในเด็กก่อนวัยเรียนด้านจิตใจ
อารมณ์โมโหร้าย
ความกลัว
การดูดนิ้วหัวแม่มือ
3) ปัญหาสุขภาพที่สาคัญและพฤติกรรมเสี่ยงในเด็กก่อนวัยเรียนด้านสังคม
ความอิจฉา
การพูดโกหก
พฤติกรรมก้าวร้าว
4) ปัญหาสุขภาพที่สาคัญและพฤติกรรมเสี่ยงในเด็กก่อนวัยเรียนด้านจิตวิญญาณ
ปัญหาพูดไม่ชัด
ปัญหาการพูดช้า
ปัญหาพูดติดอ่าง
2.3 การประเมินสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพวัยหัดเดินและวัยก่อนวัยเรียน
แนวทางการประเมินสุขภาพ
ทาได้โดยการซักประวิติและตรวจร่างกาย ซึ่งจะต้องเตรียมความพร้อม ทั้งเด็กที่จะได้รับการประเมิน การเตรียมสถานที่ การสร้างสัมพันธภาพ ชี้แจงเหตุผลที่ทาการประเมิน การ คานวณอายุเด็ก และการตรวจร่างกาย ซึ่งการตรวจรํางกายควรทาผ่านการเลํนและให๎มารดาอยู่ด้วยการ ตรวจควรเริ่มจากการตรวจที่ไมํลุกล้าเข้าไปในร่างกายของเด็ก
2.4 แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
1) การสร้างเสริมสุขภาพด้านร่างกาย
ป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคติดเชื้อด้วยวัคซีน
ส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพฟัน
ส่งเสริมการอยากรับประทานอาหาร
1 more item...
2) การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตใจ
การปรับพฤติกรรมเด็กเจ้าอารมณ์อาละวาด
การส่งเสริมสุขภาพจิตทั่วไป
3) การสร้างเสริมสุขภาพด้านสังคม
การพัฒนาการเล่น
สนับสนุนเลือกพี่เลี้ยงที่ไว้วางใจได้
ส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมทั่วไป
4) การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตวิญญาณ
ส่งเสริมพัฒนาการทางภาษา
ส่งเสริมศักยภาพการออกเสียงให้ชัดเจนเป็นปกติ ในเด็กที่มีพฤติกรรมพูดไม่ชัด และพูดติดอ่าง
ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาทั่วไป
การเจริญเติบโตของเด็กในชํวงนี้จะช้าลงและค่อนข้างคงที่ ซึ่งสะท้อนได้จากการเปลี่ยนแปลงในแบบ แผนการกินและความอยากรับประทานอาหาร เด็กที่มีความสามารถทางร่างกายเพิ่มขึ้น ขยายทักษะทาง ความรู้คิดทาให้สามารถเป็นอิสระได้มากขึ้น
เด็กวัยเรียน
เด็กที่มีอายุระหว่าง 6-12 ปี มีการเปลี่ยนแปลงอยํางรวดเร็วด้านสติปัญญา จิตใจและสังคม
มีการเปลี่ยนแปลงแบบแผนการดาเนินชีวิตประจาวันจากการใช้ชีวิตในครอบครัวออกสู่สังคมภายนอก ชีวิต สํวนใหญ่อยู่กับเรื่องการเรียน
3.1 พัฒนาการของเด็กวัยเรียน
วัยนี้การเจริญเติบโตด้านร่าง โดยทั่วไปจะช้าและคงที่จนกระทั่งเข้าสู่ระยะกํอนวัยรุ่น ซึ่งจะมีการ เจริญเติบโตอยํางรวดเร็ว โดยปกติมักเกิดระหวํางอายุ 9-14 ปี สาหรับเด็กผู้หญิง และอายุ 12-16 ปีในเด็กผู้ชาย (Stanhope and Lancaster, 2008) ในชํวงเวลานี้การทางานของกล้ามเนื้อและสมองและทักษะ การรู้คิดมีความชัดเจนและขยายมากขึ้น
3.2 ปัญหาสุขภาพที่สาคัญและพฤติกรรมเสี่ยงในเด็กวัยเรียน
1) ปัญหาสุขภาพที่สาคัญและพฤติกรรมเสี่ยงในเด็กวัยเรียนด้านร่างกาย
ปัญหาสุขภาพในช่องปาก
ปัญหาภาวะโภชนาการ
ปัญหาโรคติดเชื้อและพาราสิต
2) ปัญหาสุขภาพที่สาคัญและพฤติกรรมเสี่ยงในเด็กวัยเรียนด้านจิตใจ
การไม่อยากไปโรงเรียน
ปัญหาการเรียน
ปัญหาปัสสาวะรดที่นอน
3) ปัญหาสุขภาพที่สาคัญและพฤติกรรมเสี่ยงในเด็กก่อนวัยเรียนด้านสังคม
การลักขโมย
ปัญหาเด็กขาดการดูแลหลังเลิกเรียน
3.3 แนวทางการประเมินสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน
แนวทางการประเมินสุขภาพ
ทำโดยการซักประวิติและตรวจรํางกายจากตัวเด็กเอง หรือจาก
ผู้ดูแล ซึ่งการตรวจรํางกายจะต้องตรวจตั้งแตํศีรษะจนถึงเท้าอธิบายวัตถุประสงค์ขั้นตอนที่ชัดเจน เตรียมเด็ก กํอนตรวจรํางกาย ควรตรวจอวัยวะสืบพันธุ์เป็นอันดับสุดท้าย เด็กวัยเรียนตอนต้นควรให๎มารดาอยู่ด้วยในเด็ก วัยเรียนตอนปลายอาจให้พ่อแม่ หรือผู้ปกครองอยู่นอกห๎องถ้าเด็กต้องการ
3.4 แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพวัยเรียน
1.การสร้างเสริมสุขภาพด้านร่างกาย
ส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากในวัยเรียน
ส่งเสริมผู้ปกครองในการจัดหาอาหารที่เหมาะสมตามวัย
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน
ส่งเสริมทักษะการป้องกันอุบัติเหตุในเด็กวัยเรียน
สง่ เสริมพัฒนาการด้านร่างกายทั่วไป
2) การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตใจ
สร้างเสริมความมั่นใจในการไปโรงเรียนของเด็กวัยเรียน
วิตกกังวลจากปัญหาด้านการเรียน
ส่งเสริมความสามารถในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ
3)การสร้างเสริมสุขภาพด้านสังคม
ส่งเสริมความเข้าใจเรื่องการเป็นเจ้าของในวัยเรียนในวัยเรียนที่มีพฤติกรรมลักขโมย
ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเองและครอบครัว
4.การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตวิญญาณ
ส่งเสริมบิดามารดาหรือผู้เลี้ยงดูให้สามารถนาเสนอให้รู้จักโลกมากขึ้น
4.บทบาทของพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพวัยเด็ก
การประเมินสภาพเพื่อนหาความผิดปกติด้านการเจริญเติบโตและพัฒนาการล้าช้า
การติดตามเฝ้าระวังและสํงเสริมพัฒนาการเด็ก
การป้องกันความเจ็บป่วยโดยการใหเวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การให้ความรู้ในเรื่องการดูแลสุขอนามัยและเพศศึกษาในวัยเด็ก
การให้คาปรึกษาและคาแนะนาล่วงหน้าแกํบิดามารดาและผู้ดูแลเด็ก
การให๎คาแนะนาเพื่อป้องกันโรค อุบัติเหตุและการบาดเจ็บ