Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อวัยวะรับสัมผัสตา - Coggle Diagram
อวัยวะรับสัมผัสตา
ต้อกระจก(cataract)
ภาวะแก้วตา (Lens) ขุ่นเป็นผลการเปลี่ยนแปลงโปรตีนภายในแก้วตาจากที่มีลักษณะโปร่งใสเหมือนกระจกในภาวะปกติเป็นทึบแสงไม่ยอมให้แสงผ่านทำให้เกิดอาการตามัวมองเห็นภาพไม่ชัดเจน
สาเหตุ
-
ความผิดปกติโดยกำเนิด (Congenital cataract) ความผิดปกติในการเจริญเติบโตของลูกตาในเด็กทารกแรกเกิดส่วนมากเป็นกรรมพันธุ์
เกิดจากสาเหตุอื่น ๆ (Secondary cataract) โดนกระทบกระเทือนอย่างแรงที่ลูกตาหรือโดนของมีคมที่มแทงทะลุตาและไปโดยเลนส์ตาเป็นต้อหินโรคเบาหวานต่อมไทรอยด์เป็นพิษพาราไทรอยด์พิษสารเคมี
อาการและอาการแสดง
ตามัวลงช้า ๆ โดยไม่รู้สึกเจ็บปวดโดยเฉพาะมีอาการตามัวขึ้นในที่สว่างเนื่องจากในที่มีแสงสว่างรูม่านตาจะเล็กลงส่วนอยู่ในที่มืดจะเห็นชัดขึ้นเพราะรูม่านตาขยาย
-
ความสามารถในการมองเห็นลดลงรู้สึกว่าสายตาสั้นลงเพราะการหักเหของแสงที่เปลี่ยนไปจึงทำให้มองได้ชัดเจนในระยะที่ใกล้
-
การรักษา
ต้อกระจกไม่มีการรักษาด้วยยามีวิธีเดียวเท่านั้นคือการผ่าตัดเอาแก้วตาที่ขุ่นออกซึ่งเรียกว่าลอกต้อกระจก
ชนิดของการผ่าตัด
- Intracapsular cataract extraction (ICE) คือการผ่าตัดนำแก้วตาที่ขุ่นพร้อมทั้งเปลือกหุ้มเข้าตาทั้งหมดในเวลาเดียวกันการผ่าตัดชนิดนี้มีผลไม่แน่นอนมีผลต่อสายตาการมองถ้าไม่ใส่เลนส์เข้าไปแทนที่ผู้ป่วยจะต้องใส่แว่นตาหรือคอนแทคแลนส์หรือใส่แล้วแพทย์วางตำแหน่งไม่ตรงทำให้เกิดสายตาเอียงได้
- Extracapsular cataract extraction (ECCE) คือการผ่าตัดเอาแก้วตาที่ขุ่นออกพร้อมทั้งเปลือกหุ้มเข้าตาด้านหน้าโดยเหลือเปลือกหุ้มแก้วตาด้านหลัง
- Phacoemulsification with Intraocular Lens (PE C IOL) Liu การผ่าตัดต้อกระจกโดยใช้คลื่นเสียงหรืออัลตราซาวด์ที่มีความถี่สูงเข้าไปสลายเนื้อแก้วตาแล้วดูดออกมาทิ้งและจึงนำแก้วตาเทียมใส่เข้าไปแทน
ข้อดีของวิธีนี้ต่างกับวิธีปกติตรงที่แผลผ่าตัดเล็กกว่าการเกิดสายตาเอียงหลังผ่าตัดน้อยลงระยะพักฟื้นหลังการผ่าตัดสั้นกว่า
ข้อเสียเนื่องจากเป็นวิธีใหม่ดังนั้นต้องอาศัยความชำนาญของแพทย์ต้องใช้เครื่องมือราคาแพงและต้องใช้สารหล่อลื่นช่วยในระหว่างผ่าตัดมิฉะนั้นเครื่องอัลตราซาวด์อาจสั่นไปทำลายกระจกตาได้
-
-
จอประสาทตาลอก
ภาวะที่เกิดการแยกหรือลอกตัวของชั้นจอประสาทตาด้านใน (neurosensory retina) ออกจากชั้นของจอประสาทตาด้านนอก (retinal pigment epithelium)
สาเหตุ
- มีการเสื่อมของจอประสาทหรือน้ำวุ้นตา (itreous)
- จอประสาทตาลอกชนิดที่เกิดจากการดึงรั้ง (Tractional retinal detachment)
- จอประสาทตาลอกชนิดไม่มีรูขาดที่จอประสาทตา (Non rhegmatogenous retinal detachment or exudative retinal detachment)
-
-
การพยาบาล
-
หลังผ่าตตัด
-
-
ประเมินอาการเริ่มต้นของภาวะความดันลูกตาสูง ได้แก่ มีอาการปวดและรับประทานยาแล้วไม่ทุเลาลงดูแลให้นอนคว่ำหน้าหรือนั่งคว่ำหน้าให้ได้อย่างน้อยวันละ 16 ชั่วโมงเพื่อให้แก๊สที่ใส่ไว้ในขณะผ่าตัดไปกดบริเวณจอประสาทตาที่ลอกหลุดซึ่งจะช่วยให้จอประสาทตาติดกลับเข้าที่ได้
การพยาบาลในผู้ป่วยที่ต้องมาฉีดแก๊สหลาย ๆ ครั้งผู้ป่วยอาจมีความท้อแท้หรือมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการมองเห็นควรให้การสนับสนุนด้านกำลังใจและให้ข้อมูลเกี่ยวกับแผนการรักษาเป็นระยะ
-
-
เมื่อกลับบ้าน
การทำความสะอาดใบหน้าควรทำความสะอาดใบหน้าโดยใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำบิดหมาด ๆ เช็ดหน้าเบา ๆ เฉพาะข้างที่ไม่ได้ผ่าตัดส่วนตาข้างที่ทำการผ่าตัดให้เช็ดวันละครั้งหลังตื่นนอน (ก่อนเช็ดควรล้างมือให้สะอาดและระวังอย่าให้น้ำหรือฝุ่นละอองเข้าตา)
หลังการผ่าตัด 2 เดือนแรกควรหลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่หักโหมเช่นการกระโดดและไม่ควรยกของหนักหรือทำงานหนักที่อาจกระทบกระเทือนถึงตาได้เช่นขุดดินซักผ้าตำน้ำพริกเป็นต้น
-
ต้อหิน (GLAUCOMA)
-
-
ชนิดและอาการของโรคต้อหิน
-
-
-
อาการและอาการแสดง
ต้อหินระยะเฉียบพลันมีอาการปวดศีรษะมากปวดตามากสู้แสงไม่ได้ตามัวลงคล้ายหมอกมาบังบางคนมองเห็นแสงสีรุ้งรอบ ๆ ตวงไฟเนื่องจากมีน้ำเข้าแทรกอยู่ในกระจกตา
ต้อหินระยะเรื้อรังความดันของลูกตาสูงขึ้นเล็กน้อยผู้ป่วยอาจไม่รู้สึกอาการอะไรเลยบางคนรู้สึกมึนศีรษะตาพร่ามัวรู้สึกเพลียตาไม่มีอาการปวดไม่มีการเปลี่ยนแปลงของลานสายตาลานสายตาจะค่อย ๆ แคบลง
-
การพยาบาลผู้ป่วยต้อหิน
-
- หากมีอาการตาแดงน้ำตาไหลปวดตามากตามัวลงหรือตาสู้แสงไม่ได้ให้มาตรวจก่อนวันนัด
-
การเตรียมตัวก่อนการยิงเลเซอร์เวลายิ่งจะไม่รู้สึกเจ็บภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังยิงเลเซอร์อาจมีอาการปวดศีรษะหรือตามัวลงเล็กน้อย
-
-
-
-
ตาเป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ในการมองเห็นลูกตามีอยู่สองข้างอยู่ภายในเบ้าตามีรูปร่างค่อนข้างกลมขนานเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 24 มิลลิเมตร
ประกอบด้วย 3 ชั้น
- ชั้นนอกเป็นชั้นของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
ประกอบด้วยเปลือกลูกตา (Sclera) ทำหน้าที่ห่อหุ้มลูกตาเพื่อรักษาทรงของลูกตาป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อชั้นในผนังลูกตาชั้นนี้จะทึบแสง
-
- ชั้นกลางมีหลอดเลือดจำนวนมาก
ประกอบด้วยม่านตา (Iris) เป็นแผ่นบาง ๆ ยืดหดได้อยู่หลังกระจกตาหน้าเลนส์ตรงกลางมีช่องเรียกว่ารูม่านตา (pupil) ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมปริมาณแสงเข้าสู่ตาโดยการหดยึดของม่านตาและเป็นตัวแบ่งช่องที่อยู่ระหว่างเลนส์และกระจกตาออกเป็นสองส่วนคือ anterior chamber อยู่ระหว่างกระจกตากับม่านตาและ posterior chamber อยู่ระหว่างม่านตากับเลนส์ภายในช่องทั้งสองมีของเหลวใสเรียกว่า aqueous humor
Ciliary body เป็นส่วนหน้าสุดของ choroid ทำหน้าที่สร้างของเหลวที่เรียกว่า aqueous humor ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เลนส์และกระจกตาซึ่งไม่มีเลือดมาเลี้ยงโดยตรงและช่วยรักษาความดันในลูกตาให้คงที่โดย aqueous humor จะถูกสร้างและรวมอยู่ใน posterior chamber ก่อนจากนั้นจึงมีการไหลเวียนผ่านรูม่านตาไปยัง anterior chamber เข้าสู่ canal of Schlemm และเข้าสู่หลอดเลือดดำในที่สุด
Choroid เป็นเยื่อบาง ๆ อยู่ระหว่าง sclera กับจอตาเป็นชั้นที่มีหลอดเลือดจำนวนมากและมีเซลล์เม็ดสี (pigmented cel) จำนวนมากทำให้ชั้น choroid เป็นสีน้ำตาลทำหน้าที่สร้างอาหารมาเลี้ยงส่วนนอกของจอตาเลนส์และ itreous body
ประกอบด้วยจอประสาทตา (Retina) เป็นส่วนหลังสุดของลูกตาเป็นเนื้อเยื่อที่ประกอบด้วยเซลล์ที่มีความไวต่อแสงมากมีหน้าที่รับภาพจากแก้วตาซึ่งส่งมาเป็นพลังงานแสงแล้วแปลงเป็นพลังงานไฟฟ้าส่งต่อไปยังประสาทตาเพื่อส่งต่อไปยังสมองเพื่อแปลงพลังงานไฟฟ้ากลับเป็นภาพให้เราเห็น
แก้วตา (Lens) เป็นอวัยวะที่ไม่มีหลอดเลือดมาเลี้ยงไม่มีเส้นประสาทมากำกับมีชีวิตอยู่ได้โดยอาหารจากสารน้ำในลูกตาและวันตาทำหน้าที่ช่วยกระจกตาทำหน้าที่ในการหักเหของแสงให้มาโฟกัสที่จอตาทำให้เกิดการมองเห็น
-