Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะโลหิตจางร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
ภาวะโลหิตจางร่วมกับการตั้งครรภ์
ผลกระทบของโลหิตจางต่อสตรีตั้งครรภ์
เพิ่มการทำงานของหัว
เมื่อมีการเสียดเลือดจากการคลอดหรือการตั้งครรภ์ ทำให้ช็อค ไตล้มเหลว (เฉียบพลัน) ได้ง่าย
เพิ่มอัตราการตายปริกำเนิด เสี่ยงของการคลอดก่อนกำหนด
ทารกโตช้าในครรภ์ O2ในทารกต่ำ
ปัญหาจากสาเหตุของโลหิตจาง
สาเหตุ
สาเหตุจากการสร้างไม่พอ
พบไม่บ่อย : ขาดโฟเลต
พบน้อย : Aplastic anemia และอื่นๆ
พบบ่อย : ขาดธาตุเหล็ก เสียเลือดจากพยาธิปากขอ
สาเหตุจากการทำลายเม็ดเลือดมาก
พบไม่บ่อย : Autoimmune hemolytic anemia , Beta-thal / Hb E disease
พบน้อย : Sickle cell anemia
พบบ่อย : Hb H disease
ความต้องการธาตุเหล็กขณะตั้งครรภ์
ต้องการเหล็กสำหรับการสร้างรกและทารก
เตรียมไว้สำหรับการเสียเลือดขณะคลอด
เพิ่มปริมาณเลือดราว 45% เม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น 33%
โลหิตจางเนื่องจากการขาดธาตุเหล็ก
ระยะที่มีการบกพร่องของ erythopoiesis ระดับ TIBC สูงขึ้น , SI ต่ำ และ ระดับ transferrin ที่จับกับเหล็กต่ำลง
ระยะที่มีโลหิตจางชัดเจน MCV,MCH และ MCHC ต่ำกว่าปกติ
ระยะที่ขาดเหล็กสะสม : เหล็ฏในไขกระดูกลดลง Ferritin ในพลาสมาต่ำลงกว่า 20 นก./มล.
การป้องกัน
ต้องการธาตุเหล็กที่ดูดซึมแล้วประมาณวันละ 6-7มก.
ควรได้รับเหล็กเสริมวันละประมาณ30มก.
เกลือ ferrous gluconate320mg. มีธาตุเหล็ก36mg.
เกลือ fumurate200mg. มีธาตุเหล็ก67mg.
เกลือ ferrous sulfate 300mg. มีธาตุเหล็ก 60mg.
ธาลัสซีเมีย
Alpha-Thalassemia
สร้าง a-globin chain ลดลงหรือไม่สร้างเลย
อยู่บนตำแหน่งแขนสั้นของโครโมโซมคู่ที่16ข้างละ2loci
Beta-globin gene
ตำแหน่งแขนสั้นของโครโมโซมคู่ที่11มี2ยีน
การสร้าง b-globinลดลง ทำให้เกิดเป็น b-thalassemia
b-thal major : หลังคลอดออกมาแล้ว3-4M เริ่มมีปัญหาการเจริญเติบโต ซีดมาก ตับม้ามโต มีชีวิตอยู่10-30ปี
จะเสียชีวิตด้วยภาวะ hemosiderosis มีชีวิตถึงวัยเจริญพันธุ์ มักไม่มีระดู มีบุตรยากมาก น้อยรายที่สามารถตั้งครรภ์ได้ ไม่ค่อยมีปัญหาทางสูติศาสตร์
ิb-thal minor : ซีดเล็กน้อยถึงปานกลาง มีค่า Hb ประมาณ 8-10กรัม/ดล.
การป้องกันธาลัสซีเมีย
ให้คำปรึกษาด้านพันธุศาสตร์
วินิจฉัยก่อนคลอด
คัดกรองหาผู้เป็นพาหะของยีนธาลัสซีเมีย
ติดตามผู้ป่วยและประเมิน
ให้ความรู้เกียวกับธาลัสซีเมียในชุมชน