Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยา Drug administration, นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ รหัสนักศึกษา…
การบริหารยา Drug administration
ขั้นตอนในการบริหารยา
การรับคำสั่งการรักษา
การรับยาและการตรวจสอบยา
การติดตามหลังการให้ยา
การเตรียมยาและการให้ยา
การเขียนคำสั่ง
คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป (continuous order)
คำสั่งใช้ภายในวันเดียว
การบริหารยาผ่านทางเดินอาหาร
ทางปาก (oral administration) เป็นวิธีที่ง่าย สะดวก ประหยัด
อมใต้ลิ้น (sublingual administration) เหมาะกับการที่ต้องการให้ยาออกฤทธิ์ทันที
ทางทวารหนัก (rectal administration) ให้โดยการเหน็บหรือสวนเก็บ
การบริหารยาผ่านทางอื่น ๆ
การให้ยาทางหลอดเลือด (intravascular administration)
การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง (intradermal administration)
การฉีดยาเข้าใต้ผิวหนัง (subcutaneous administration)
การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
(intramuscular administration)
การสูดดม (inhalation)
การทาเฉพาะที่ (topical application)
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยา (5 right, 5R)
ให้ยาถูกผู้ป่วย (right patient)
ให้ยาถูกชนิด (right drug)
ให้ยาถูกขนาด (right dose)
ให้ยาถูกเวลา (right time)
ให้ยาถูกทางและถูกวิธี (right route and method)
สิทธิของผู้ป่วยในการรับยา
สิทธิที่จะได้รับการประเมิน
สิทธิที่จะได้รับเอกสารที่ถูกต้องเหมาะสม
สิทธิที่จะได้รับความรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการรักษา
สิทธิที่จะได้รับการประเมินผล
สิทธิในการปฏิเสธที่จะไม่รับการรักษาที่ไม่เหมาะสม
หลักสำคัญในการให้ยา
การให้ยาทางปากใช้หลักสะอาด และการฉีดยาใช้หลัก aseptic technique
ตรวจสอบคาสั่งแพทย์ก่อนให้ยาทุกครั้ง
ทราบวัตถุประสงค์การให้ยา
ตรวจสอบประวัติการแพ้ยา
ตรวจสอบวันหมดอายุของยา
ไม่เตรียมยาค้างไว้
ไม่ให้ยาที่ฉลากลบเลือน
หลักสำคัญในการให้ยา (ต่อ)
ตรวจสอบผู้ป่วยก่อนได้รับยา
แจ้งวัตถุประสงค์ให้ผู้ป่วยรับทราบ
ต้องให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้า
ลงบันทึกการให้ยา
ประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
สังเกตอาการก่อนและหลังการให้ยา
กรณีที่ให้ยาผิดต้องรีบรายงาน
การให้ยาทางปาก
วัตถุประสงค์
เพื่อความสะดวก ประหยัด และปลอดภัย
เพื่อลดความไม่สุขสบาย จากการได้รับยา
เพื่อให้ยาออกฤทธิ์ตามชนิดของยา
อุปกรณ์ในการให้ยาทางปาก
ถ้วยยา หรือ syringe
น้ำเปล่า หรือ น้ำส้ม หรือน้ำหวานแทนน้ำ (หากไม่มีข้อห้าม)
ถาดหรือรถใส่ยา
แบบบันทึกการให้ยา (Medication administration record: MAR)
การพยาบาลเพื่อให้ยาได้ถูกหลักการ
ดูเบอร์เตียง ชื่อ นามสกุล ผู้ป่วยใน MAR ให้ตรงกัน
ดูชื่อยา ขนาดยา เวลาที่ให้ใน
MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย
เตรียมยาให้ตรงกับ MAR
ของผู้ป่วยแต่ละราย
อ่านฉลากยาให้ตรงกับ MAR ของ
ผู้ป่วยแต่ละราย ดูวันที่หมดอายุของยา
เทยา หรือรินยาให้ได้ตรงตามจำนวนกับขนาดของยาใน MAR ของผู้ป่วยแต่ละรายอีกครั้ง
นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ
รหัสนักศึกษา 6203400086
หน้า 1.