Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือดูแลเบื้องต้นแก่ผู้ที่มีปัญหาด้าน สุขภาพจิต, นางสาวกนกพรรณ…
การช่วยเหลือดูแลเบื้องต้นแก่ผู้ที่มีปัญหาด้าน สุขภาพจิต
แนวทางการดูแลตนเอง
เพื่อให้มีสุขภาพจิตที่ดี
-รักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับคนรอบข้าง
-ออกกำลังกาย
-รู้จักขอบคุณสิ่งต่างๆในชีวิต
-ตรวจสอบตัวเอง ทั้งร่างกาย จิตใจ และอารมณ์
-พัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง
ความเครียด
ระดับของความเครียด
-ความเครียดระดับกลาง Moderate stress
-ความเครียดระดับสูง Severe stress
-ความเครียดระดับต่ำ Mild stress
สาเหตุของความเครียด
สิ่งที่ทำให้บุคคลประสบความไม่พึงพอใจในสิ่งที่เป็น
ความต้องการขั้นพื้นฐาน
สิ่งใดก็ตามที่คุกคามหรือพยายามที่จะทาลายบุคคล
-สิ่งที่ขัดขวางพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจ
ของมนุษย์
แนวทางในการดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีความเครียด
-สำรวจตัวเองว่าเครียดจากปัญหาใด
-ปรับเปลี่ยนวิธีคิดที่ทำไม่ให้เครียด
-หมั่นสังเกตความผิดปกติทางร่างกาย
ผู้ที่มีภาวะสูญเสีย/โศกเศร้า
ประเภทของการสูญเสีย
-การสูญเสียบุคคลสำคัญในชีวิติ
-การสูญเสียความสมบูรณ์ทางสรรีระ จิตใจและสังคม
-การสูญเสียสมบัติหรือความเป็นเจ้าของ
ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงและรูปแบบของการแสดงออกต่อการสูญเสีย
ความรู้สึกต่อสิ่งที่สูญเสีย
-ประสบการณ์การสูญเสีย
-บุคลิกภาพและความพร้อม
-แหล่งสนับสนุนทางครอบครัวและสังคม
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อการสูญเสีย
ขั้นที่ 3 การต่อรอง
ขั้นที่ 4 ซึมเศร้า
ขั้นที่ 2 โกรธ
ขั้นที่ 1การปฏิเสธ
ขั้นที่ 5 ยอมรับ
การวางแผนการพยาบาล
-พยายามให้บุคคลได้มีโอกาสระบายออก
-ประคับประคองอารมณ์เศร้าโศกเสียใจให้ลดลง
-เพิ่มการเตรียมพร้อมรับความจริง
การช่วยเหลือ
ส่งเสริมการสร้างและคงความหวัง
ที่เป็นจริง
ส่งเสริมให้ลดความรู้สึกทุกข์โศก
-ให้ได้ระบายอารมณ์เศร้า เสียใจ
-ใช้เทคนิคการสื่อสารเพื่อให้รับรู้
ความรู้สึกของตนเอง
-ให้กำลังใจและกระตุ้นให้แสดงอารมณ์ ความรู้สึกต่อสิ่งที่สูญเสียมากกว่าสนับสนุนให้เลิกคิดถึง
สร้างเสริมความสัมพันธ์ที่เชื่อถือ
ไว้วางใจ
-สร้างสัมพันธภาพเชิงวิชาชีพแบบ 1:1
-พูดคุย ทักทายสม่ำเสมอและพอเหมาะ
-พยาบาลมีท่าทีสงบ มั่นคงและให้
ความรู้สึกร่วม
ความวิตกกังวล
ระดับของความวิตกกังวล
-ความวิตกกังวลระดับกลาง Moderate anxiety
-ความวิตกกังวลระดับสูง Severe anxiety
-ความวิตกกังวลระดับต่ำ Mild anxiety
-ความวิตกกังวลระดับสูงสุด Panic
กระบวนการเกิดความวิตกกังวล
-ความต้องการของบุคคลมีสิ่งขัดขวาง ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จ
-บุคคลเกิดอารมณ์ไม่สบายใจ ไม่แน่ใจ กระวนกระวายใจ ท้อแท้ ไม่สามารถขจัดความไม่สบาย
ต่างๆได้ด้วยตนเอง
ประเภทของความวิตกกังวล
-ความวิตกกังวลแบบเฉียบพลัน Acute Anxiety
-ความวิตกกังวลแบบเรื้อรัง Chronic Anxiety or Trait Anxiety
-ความวิตกกังวลปกติ Normal Anxiety
นางสาวกนกพรรณ ศรีบาล เลขที่ 2