Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจในหญิงตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคหัวใจในหญิงตั้งครรภ์
ความสาคัญและอุบัติการณ์
-
-
การตั้งครรภ์ เพิ่มภาระงานของหัวใจอย่างมาก ถ้าหัวใจมีศักยภาพสารองต่าอาจจะไม่สามารถรับการเปลี่ยนแปลงปกติที่เกิดจากการตั้งครรภ์ได้
ส่วนใหญ่เป็นโรคหัวใจรูห์มาติค(90 % เป็นชนิด mitral stenosis ; MS) แต่ปัจจุบันโรคหัวใจโดยกำเนิดพบขณะตั้งครรภ์ได้บ่อยขึ้น หรือบ่อยกว่า
-
-
-
-
การดูแลรักษาทั่วไป
-
-
Class III, IV หรือโรคชนิดรุนแรง ให้นอนในโรงพยาบาลตลอดการตั้งครรภ์
การทาแท้งเพื่อการรักษาอาจพิจารณาทาในรายที่มีประวัติหัวใจล้มเหลวมาก่อนซึ่งยังไม่ได้แก้ไขสาเหตุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหัวใจล้มเหลวขณะตั้งครรภ์พยาธิสภาพรุนแรง มีความเสี่ยงสูงต่อการตายสูง ได้แก่ โรค group 3 โรคหัวใจ class III และ IV หัวใจอักเสบหรือกาลังอักเสบอย่างรุนแรงจากไข้รูห์มาติค
การดูแลระยะคลอด
- ควรรับไว้ในโรงพยาบาลก่อนคลอด และให้คลอดทางช่องคลอด การผ่าตัดควรถือตามข้อบ่งชี้ทางสูติศาสตร์
- ให้ผู้ป่วยนอนในท่า semirecumbent
- ให้ยาแก้ปวดในระยะคลอด การให้ยาชาแบบ continuous epidural block จะช่วยลดอาการเจ็บปวดและความกังวลได้ดี แต่ต้องระวังไม่ให้เกิดความดันโลหิตต่า ถ้าจะทาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องแนะนาให้ใช้วิธีดมยาสลบ
- ระวังหัวใจล้มเหลว ถ้ามีตรวจให้พบโดยเร็วและรีบรักษาแต่เนิ่น ๆ
- แนะนาให้ยาปฏิชีวนะป้องกัน bacterial endocarditis (BE) ในรายที่มีการติดเชื้อ
- ช่วยคลอดด้วยคีมหรือเครื่องดึงสุญญากาศ เพื่อร่นเวลาเจ็บครรภ์ของระยะนี้ โดยไม่ต้องให้มารดาออกแรงเบ่งคลอด
- หลังคลอดยังเป็นช่วงวิกฤติ หัวใจล้มเหลวได้ง่าย ให้เฝ้าสังเกตผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดระวังเรื่องการตกเลือดและการติดเชื้อหลังคลอด ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อนใด ๆ ให้เลี้ยงลูกด้วยนมมารดาได้
การคุมกำเนิด
- แนะนำทำหมันเมื่อระบบหัวใจและหลอดเลือดปกติดีแล้ว (หลีกเลี่ยงการทาด้วยวิธีแลพพาโรสโคป)
- หลีกเลี่ยงการใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดที่มีเอสโตรเจน(น้าและโซเดียมคั่งได้ง่าย)
- หลีกเลี่ยงการใส่ห่วงอนามัย (เพิ่มความเสี่ยงต่อ BE)