Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.1 หลักการและทฤษฎีการจัดการ - Coggle Diagram
4.1 หลักการและทฤษฎีการจัดการ
มนุษย์มีการอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม จึงต้องมีทำงานร่วมกัน และเพื่อให้บรรลุเป้าหมายจีงต้องมีการ จัดการเกิดขึ้น
การจัดการ (Management) หมายถึง กระบวนการที่ทำให้งานกิจกรรมต่างๆสำเร็จได้อย่าง ลุล่วง และมีประสิทธิภาพด้วยคนและทรัพยากรขององค์การ เป็นการดำเนินการให้เกิด ประโยชน์สูงสุด
โดยการจัดการสามารถมองได้ใน 2 แง่
การจัดการเป็นวิทยาศาสตร์ :ความรู้ที่ได้มา ผ่านกระบวนการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
การจัดการเป็นศิลปะ :เพราะนำไปประยุกต์ให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์
ประสิทธิภาพ
หมายถึง การทำงานที่ได้ผลผลิตมากกว่า โดยใช้ปัจจัยน้อยกว่า หรือเท่าเดิม ดารจัดการที่ดือคือใช้ต้นทุนน้อยสุด และเกิดผลผลิตมากที่สุด
ประสิทธิผล
หมายถึง การทำงานให้ได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ผลผลิตเป็นไปตามที่กำหนด ไว้
ทฤษฎีการจัดการระบบดั้งเดิม (Classic Management Theory)
2) Henry L. Gnatt มีระบบปันผล ประกันค่าจ้าง
ใช้ Gantt chart
วางแผนการทำงาน
แนวนอนคืองาน แนวตั้งคือเวลา
1) Federick W. Taylor:ใช้หลักวิทยาศาสตร์เข้ามาช่วย เน้นประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งบุคคลที่มีชื่อเสียงในการ
หลักการ
• Time-and-Motion Study
• ประดิษฐ์เครื่องตัดเหล็กความเร็วสูง
• จัดการแบบวิทยาศาสตร์
• พัฒนาการทำงานวิธีดีที่สึดโดยใช้หลักวิทยศาสตร์
• ทำงานเพื่อผลผลิตสูงสุดในทาัพยากรที่จำกัด
• พัฒนาทรัพยากรคน
3) Frank Gilbreth & Lillian Gilbreth:
Flow process chart --> ลดเวลาสูญเปล่า เพิ่มผลผลิต
4) Harrington Emerson
หลักประสิทธิภาพ 12 ประการ
1.จุดมุ่งหมายชัดเจน
2.ใช้หลักเหตุผลทั่วไป
3.คำแนะนำที่ดี
4.มีวินัย
ยุติธรรม
6.ข้อมูลที่เชื่อถือได้
7.ฉับไว
8.มีมาตรฐานและตารางเวลา
9.อยู่ในมาตรฐานเสมอ
10.ปฏิบัติได้มาตรฐาน
11.คำสั่งได้มาตรฐาน
12.ให้รางวัลแบบมีประสิทธิภาพ
5) Henri fayol
-การบริหารองค์กรต้องมีการจัดการแรงงาน ควบคุมต้นทุน
-แนวเดียวกับ frederick winslow taylor
หน้าที่ของผู้นำในการจัดการ
-planning
-organising
-commanding
-coordinating
-controlling
-หลักการจัดการ
1 แบ่งงานกันทำ
2 อำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ
3 ระเบียบวินัย
4 ผู้บังคับบัญชาคนเดียว
5 จุดมุ่งหมายร่วมกัน
6 ประโยชน์ส่วนตัวเป็นรองส่วนรวม
7 ให้ผลประโยชน์ตอบแทน
8 รวมอำนาจไว้ส่วนกลาง
9 ธำรงไว้ซึ่งสายงาน
10 มีระเบียบเรียบร้อย
11 ยุติธรรม/เสมอภาค
12 มีเสถียรภาพของการว่าจ้างทำงาน
13 ความคิดริเริ่ม
14 สามัคคี
ทฤษฎีการจัดการเชิงพฤติกรรม ( Behavioral Management Theory)
1930-1950
มุ่งศึกษาพฤติกรรมมนุษย์และให้ความสำคัญกับทรัพยากรมนุษย์ เชื่อว่าการจัดการใดๆจะสำเร็จได้ต้องอาศัยคนเป็นหลัก จึงทำให้มีการศึกษาทฤษฎี วิธีการและเทนิคต่างๆเพื่อศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์
3.1 แนวคิดของ Elton Mayo
จากการศึกษาทัศนคติและปฏิกิริยาทางจิตวิทยาของพนักงานในสถานที่ต่างๆทำให้มีแนวคิดดังนี้
3.1.1 องค์กรเป็นองค์กรของสังคม
3.1.2 องค์กรมีหน้าที่สร้างความพอใจให้กับสมาชิก
3.1.3 พฤติกรรมขึ้นอยู่กับค่านิยมและความเชื่อ
3.1.4 สมาชิกในองค์กรทำงานเหมือนเป็นสมาชิกของกลุ่ม
3.1.5 ระดับของผลผลิตถูกกำหนดโดยปทัสถานของสังคม
3.1.6 องค์กรที่ไม่เป็นทางการจะส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมของตัวสมาชิก
3.2 แนวคิดของ Mary Parker Follet
สนใจในเรื่องการจูงใจบุคคลและการจูงใจกลุ่ม โดยการกระตุ้นให้คนรู้สึกอยากทำงาน ก่อให้เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
3.3 แนวคิดของ Abraham H. Maslow
เชื่อว่าพฤติกรรมของมนุษย์เป็นผลมาจากการตอบสนองความต้องการตามลำดับขั้นเช่น
3.3.1 ความต้องการทางด้านสรีระขั้นต้น เช่น อาหาร น้ำ
3.3.2 ความต้องการความมั่นคง เช่น ที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัย
3.3.3 ความต้องการทางด้านสังคมและความรัก
3.3.4 ความต้องการเกรียติยศ ความภาคภูมิใจ
3.3.5 ความต้องการความสำเร็จและมีคุณค่า
ทฤษฎีการจัดการสมัยใหม่ (Modern Management Theory)
1950-ปัจจุบัน
การจัดการสมัยใหม่ใช้หลักการทางคณิตศาสตร์ช่วยในการตัดสินใจและการจัดการเชิงระบบ
แนวคิดใหม่คือพยายามเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรโดยะพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการจัดการมนุษย์ กลุ่มนี้มีแนวคิดว่า “การบริหารจะประสบความสำเร็จได้ คนในองค์กรต้องร่วมมือ ร่วมใจ สามัคคี มีจุดมุ่งหมายเดียวกัน
การทำงานต้องเป็นทีมและการบริหารต้องเป็นระบบ
แนวคิดทฤษฎีระบบ - มององค์กรเป็นระบบตามสภาพแวดล้อม มี 4 ส่วน
• ปัจจัยนําเข้า (Input)
• กระบวนการแปรสภาพในการจัดการ (Transformation Process)
• ผลผลิต (Product)
• การป้อนกลับ (Feedback)
แนวคิดด้านระบบสังคม Chester I. Barnard - องค์กรเป็นระบบ
สังคมที่เปลี่ยนแปลงได้ มีความเกี่ยวพันที่ประสานกันโดยมีเป้าหมายของการตอบสนอง ความต้องการส่วนบุคคล และเห็นว่าบุคคลแต่ละคนองค์กร ผู้ขาย และลูกค้า
องค์กร เป็นโครงสร้างทางสังคม (Social structure)
การบริหาร จัดการต้องเป็นไปทั้งระบบ (wholes) มากกว่าเป็นส่วนๆ (piece by piece)
พฤติกรรมศาสตร์ (Behavior science) เห็นว่า คน คือหัวใจของการผลิต
ระบบ (System) หมายถึงสิ่งต่างๆ ที่ต้องพึ่งพากัน และรวมกันเป็นหนึ่งเดียว เช่น ร่างกาย
ระบบบริหารจัดการ (Management system) หมายถึง ส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์ และขึ้นต่อกัน
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อดําเนินการให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร
การสื่อสาร (Communication) เป็นส่วนสําคัญขององค์กร ในการเชื่อมโยงการทํางานขององค์กร
แนวคิดทฤษฎีการจัดการเชิงสถานการณ์ -
• การจัดการขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้จึงจําเป็นต้องปรับปรุงการจัดการอยู่เสมอ
• มุ่งปรับปรุงพฤติกรรมการบริหารตามสถานการณ์เฉพาะขององค์การ
ทฤษฎีการจัดการเชิงสถานการณ์ (Contingency Theory of Management)
• แนวคิดแบบดั้งเดิม (Classical Perspective)
• แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavioral Perspective)
• แนวคิดเชิงปริมาณ (Quantitative Perspective)
• แนวคิดเชิงระบบ (System Perspective)
แนวคิดการจัดการญี่ปุ่น
ผู้บริหารอำนวยความสะดวก
ข้อมูลไหลจากระดับล่างขึ้นบน
จ้างงานตลอดชีพ
แนวคิดองค์การเรียนรู้ - องค์กรที่สร้างสรรค์ ถ่ายทอด ดัดแปลง ความรู้ใหม่
• system thinking
• shared vision
• challenging mental models
• team learning
• personal mastery
แนวคิดด้านการจัดการเป็นกระบวนการ - กระบวนการที่เกี่ยวข้อง
• planning
• organizing
• staffing
• directing
• controlling
แนวคิดการจัดการคุณภาพโดยรวม (TQM; Total Quality Management) - ที่มา : ถูกพัฒนาโดยญี่ปุ่น โดย edwards deming(usa)
• เน้นความพึงพอใจลูกค้า
• มีการปรับปรุงต่อเนื่อง
• มีการปรับปรุงคุณภาพองค์กรทั้งหมด
• มีการวัดและประเมินผล
• พนักงานทุกคนมีส่วนร่วม
แนวคิดการจัดการในยุคแรกเริ่ม
(Early Management Theory)
อาศัยการบังคับให้คนทำงาน เช่นการลงโทษ ยุคนี้จึงเปรียบเสมือนทาส