Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ช็อคจากระบบประสาท ( Neurogenic shock ) กลุ่ม 2, นางสาวนาซูฮา แซแอ…
ช็อคจากระบบประสาท
( Neurogenic shock ) กลุ่ม 2
สาเหตุของ Neurogenic shock
พยาธิสภาพที่สมอง (Cerebral damage)
ทําให้กระทบกระเทือนVasomotor center
ที่เมดัลลา เช่น ได้รับบาดเจ็บที่สมอง สมองขาดเลือด สมองบวม
พยาธิสภาพที่ไขสันหลัง (Spinal cord injury)
ทำให้ vasomotor center ไม่สามารถควบคุม Preganglionic vasoconstrictor nerve ได้ เช่น ได้รับบาดเจ็บที่ไขสันหลัง มีการตัดขาดของไขสันหลัง
ภาวะช็อคจากระบบประสาทมีสาเหตุหลักๆ
การทําลายส่วนก้านสมอง ไขสันหลัง
การดมยาสลบบางชนิด
ช็อคจากอินซูลิน insulin shock
พยาธิสภาพ Neurogenic shock
ระบบประสาทซิมพาเทติกสูญเสียหน้าที่
หลอดเลือดดำขยายทั่วร่างกาย ลดปริมาณเลือดเข้าสู่หัวใจ
ลด stroke volume
ลด cardiac output
ลดปริมาณเลือดไหลเวียนไปเนื้อเยื่อ
หลอดเลือดแดงขยายทั่วร่างกาย
ความดันโลหิตลดลง
ลดปริมาณเลือดไหลเวียนไปเนื้อเยื่อ
ตัวอย่าง สาเหตุที่ทําให้เกิด Neurogenic shock
การบาดเจ็บไขสันหลัง
บาดเจ็บไขสันหลังส่วนใหญ่พบในเพศชาย (ร้อยละ 78.66) อายุระหว่าง 28.4-39.5 ปี โดย
สาเหตุส่วนใหญ่มาจากอุบัติเหตุทางจราจร ตกจากที่สูง ถูกทำร่ายร่างกาย
พยาธิ
Spinal cord injury ทำลายpyramidal tract เซลล์ประสาทตํ่ากว่ารอยโรค
หยุดชะงักทันที
เกิด function shut down สัญญาณกระตุ้น หมดไป
ระบบประสาทอัตโนมัติเสียไป
กลไกการบาดเจ็บไขสันหลัง
การบาดเจ็บกระดูกสันหลังและไขสันหลังเกิดทั้งจากที่ไม่มีแผลทะลุทะลวง (blunt injury) และที่มีแผลทะลุทะลวง (penetrating injury) ) เช่นจากการถูกยิงหรือถูกแทง
ประเภทการ บาดเจ็บตามกลไกการบาดเจ็บ
Flexion injury
เกิดจากการใช้ความเร็วสูงและหยุดกะทันหัน
Hyperextension injury
เกิดจากหลายสาเหตุ พบบ่อยในผู้สูงอายุเนื่องจากการเสื่อมของกระดูก
Flexion with rotation injury
เกิดจากการหมุนหรือบิดของศีรษะและคออย่างรุนแรง
ประเภทของการบาดเจ็บไขสันหลัง
1 บาดเจ็บไขสันหลังชนิดสมบรณ์
หมายถึง การบาดเจ็บที่ทําให้
ไขสันหลังสูญเสียหน้าที่ทั้งหมดผู้ป่ วยจะสูญเสียการทํางานของกล้ามเนื้อและความรู้สึกในส่วนที่ตํ่ากว่าพยาธิสภาพ
2 บาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์
(Incomplete spinal cord injury)
หมายถึงร่างกาย
ส่วนที่อยู่ตํ่ากว่าระดับพยาธิสภาพมีบางส่วนของระบบประสาทที่ยังทําหน้าที่อย่ เช่น ผู้ป่ วยมีกําลังกล้ามเนื้อหรือมีการรับรู้ที่ผิวหนังในส่วนที่ถูกควบคุมด้วยไขสันหลังที่อยู่ตํ่ากว่าระดับที่ได้รับบาดเจ็บ สามารถขมิบรอบๆ ทวารหนักได้
Anterior spinal cord syndrome
e พยาธิสภาพเกิดจากไขสันหลังส่วนหน้าถูกทําลายกลไกการได้รับบาดเจ็บเกิดจากอุบัติเหตุที่ทําให้ส่วนของคองอทันทีทันใดมีผลให้กระดูกสันหลังเคลื่อนมากดทับไขสันหลังและหลอดเลือดแดงที่เลี้ยงไขสันหลังส่วนหน้า
Central spinal cord syndrome
พยาธิสภาพเกิดจากการได้รับบาดเจ็บในท่าที่แอ่นมากเกินไปมีผลทําให้ไขสันหลังระดับคอส่วนกลางถูกทําลายโดยเป็นที่อยู่ของเส้นใยประสาท corticospinal tract ที่ควบคุมแขน การบาดเจ็บเฉพาะบริเวณกลางของไขสันหลัง
Posterior cord syndrome
หมายถึง มีการบาดเจ็บบริเวณส่วนหลังของไขสันหลัง ทํา
ให้สูญเสียการรับความรู้สึกการเคลื่อนไหวของข้อ การบาดเจ็บชนิดนี้พบได้น้อยมาก
Conus medullaris syndrome (sacral cord injury)
หมายถึง มีการบาดเจ็บของไขสันหลัง
ระดับกระเบนเหน็บและรากประสาทระดับเอวทําให้กระเพาะปัสสาวะเป็นอัมพาตชนิดอ่อน
ปวกเปียก
Cauda equina syndrome
หมายถึง รากประสาทระดับเอวและกระเบนเหน็บได้รับบาดเจ็บทําให้กล้ามเนื้อขากล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะหูรูดและลําไส้ใหญ่อ่อนแรง
Sacral sparing
หมายถึง กลุ่มอาการที่มีการทําลายของไขสันหลังเป็นบริเวณกว้าง แต่แขนง
ของหลอดเลือดบริเวณไขสันหลังยังดีอยู่
โจทย์กรณีศึกษา ผู้ป่ วยที่มีการบาดเจ็บที่ศีรษะและมีภาวะช็อก
ผู้ป่วยสูงอาย มีโรคประจำตัว เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และ โรคหัวใจขาดเลือด
อาการสําคัญตกจากรถจักรยานยนต์ินิจฉัยเป็น
Unstable Brust fractureT12(กระดูกสันหลังส่วนอกชิ้นที่ 12 หักและกดทับไขสันหลัง )ได้รับการผ่าตัดเพื่อลดการกดทับไขสันหลัง เชื่อมและตรึงกระดูกสันหลังโดยใช้โลหะ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล ได้แก่เสี่ยงต่อภาวะช็อก
จากไขสันหลังบาดเจ็บ เสี่ยงต่อการเกิดไขสันหลังถูกทําลายมากขึ้นจากกระดูกสันหลังหัก ปวดหลัง
นางสาวนาซูฮา แซแอ 634N46219