Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคพิษสุนัขบ้าหรือโรคกลัวน้ำ - Coggle Diagram
โรคพิษสุนัขบ้าหรือโรคกลัวน้ำ
สาเหตุ
สัตว์ที่นำโรคมาสู่คน ได้แก่ สุนัข โดยเฉพาะสุนัขจรจัด
เมื่อสัตว์ที่เป็นโรคมากัดคน เชื้อจะเข้าสู่ร่างกายของผู้ถูกกัดทางบาดแผลรอยขีดข่วนทางผิวหนัง
เชื้อที่ทำให้เกิดโรค
เรบีสไวรัส (Rabies virus) ซึ่งอยู่ในกลุ่มแรปโดวิริดี้(Rhabdovridae)
มีรูปร่างคล้ายกระสุนปืน
เชื้อจะถูกทำลายได้ง่ายด้วยความร้อน น้ำยาฆ่าเชื้อ สบู่ ผงซักฟอด
การติดต่อ
ส่วนการติดต่อผ่านทางการหายใจเอาเชื้อเข้าไปพบได้น้อย
เชื้อไวรัสออกมากับน้ำลายของสัตว์ที่ติดเชื้อ เข้าสู่ร่างกายทางบาดแผลที่สัตว์กัดหรือข่วน
ระยะฟักตัวของโรค
เฉลี่ย 3-8 สัปดาห์ พบได้ตั้งแต่ 9 วันถึง 7 ปี ขึ้นอยู่กับ
ความแข็งแรงของร่างกาย จำนวนเชื้อ ขนาดและความลึกของบาดแผล
อาการ
อาการของโรคในคน แบ่งออกเป็น 4 ระยะ
ระยะที่ 2รู้สึกชาและเจ็บเสียวบริเวณแผลที่ถูกสัตว์กัด
ระยะที่ 3 มีอาการทางจิตประสาท ตกใจง่ายต่อสิ่งเร้า กล้ามเนื้อเกร็งเฉพาะกล้าเนื้อที่ช่วยในการกลืน น้ำลายไหล ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเสียชีวิตในระยะนี้
ระยะที่ 1มีอาการไข้ ปวดศีรษะ ปวดเหมื่อยกล้ามเนื้อ เจ็บคอ หายใจขัด เบื่ออาหาร พูดตะกุกตะกัก
ระยะที่ 4 ผู้ป่วยเริ่มรู้สึกตัว กล้ามเนื้ออ่อนแรงผู้ป่วยเริ่มเป็นอัมพาตของกล้ามเนื้อต่างๆ และเสียชีวิตโดยการหยุดหายใจ
อาการของโรคในสุนัข แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
ระยะที่ 2 กินเวลา 3-4 วัน แบ่งออกเป็น 3ชนิด
ก)ชนิดบ้า สุนัขจะวิ่งพล่าน ตัวแข็ง หางตก น้ำลายไหล
ข)ชนิดอัมพาต สุนัขจะเดินโซเซ หางตก ขาสั่น น้ำลายฟูมปาก
ค)ชนิดอาการไม่แน่นอน เป็นชนิดที่อันตรายมากที่สุดเนื่องจากคนจะไม่ทันสังเกตและระมัดระวังตัว
ระยะที่3 สุนัขมีอาการชักเป็นระยะ เป็นอัมพาตแล้วตาย
ระยะที่ 1 1-3 วันสุนัขจะมีอาการผิดปกติเล็กน้อย ได้แก่ ซึม ตาแดง เบื่ออาหาร ไม่สนใจเจ้าของ ชอบอยู่ที่มืด
การตรวจวินิจฉัย
ดูประวัติการถูกสัตว์กัด
วินิจฉัยจากอาการและอาการแสดงในระยะต่างๆ
การนำสมองของสุนัขหรือผู้ป่วยที่ตายไปแล้วไปตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
การรักษาพยาบาล
เมื่อปรากฏอาการควรให้การรักษาตามอาการจนกว่าผู้ป่วยจะเสียชีวิต
การป้องกันและการควบคุมโรค
ไม่ปล่อยสุนัขและแมวที่เลี้ยงไว้ไปเดินเล่นในที่สาธารณะโดยไม่ควบคุมดูแล
นำสุนัขและแมวที่เลี้ยงไว้ไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
เมื่อถูกสุนัขที่สงสัยว่าป่วยเป็นโรคพิษสุนัขบ้ากัด ควรรีบไปพบแพทย์ เพื่อฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า จำนวน 5 ครั้ง
เมื่อพบสุนัขเร่ร่อนไม่มีเจ้าของหรือสงสัยว่าสุนัขอาจจะป่วยเป็นโรคพิษสุนัขบ้าควรแจ้งสัตวแพทย์ ปศุสัตว์
ข้อแนะนำเพิ่มเติม
ควรแยกผู้ป่วยพิษสุนัขบ้าไว้ในสถานที่ที่มั่นคง เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยหลบหนีขณะมีอาการคลุ้มคลั่ง
ผู้ที่ดูแลผู้ป่วยควรระมัดระวังไม่ให้สัมผัสน้ำมูกหรือน้ำลายของผู้ป่วย