Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะช็อคจากหัวใจ(Cardiogenic shock) กลุ่ม 2, นางสาวนาซูฮา แซแอ…
ภาวะช็อคจากหัวใจ(Cardiogenic shock) กลุ่ม 2
ภาวะช็อค หมายถึงภาวะที่มีการไหลเวียนโลหิตไปยังเนื้อเยื่อไม่เพียงพอ จึงทําให้เนื้อเยื่อขาดออกซิเจนและสารที่จําเป็นต่อการดํารงชีวิต รวมทั้งมีของเสียที่เกิดจากเมตะบอลิซึมของเซลล์คั่งค้างอยู จึงเกิดการทําลายเนื้อเยื่อทั่วร่างกาย การทํางานของอวัยวะต่างๆล้มเหลว
หัวใจ
หัวใจของเราเป็นอวัยวะหนึ่งที่ทํางานหนักที่สุดตลอดชีวิต หลอดเลือดที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ ประกอบด้วยหลอดเลือดแดงหลัก 2เส้น เรียกว่า หลอดเลือดแดงโคโรนารี ด้านขวา 1 เส้น และด้านซ้าย 1 เส้นซึ่งด้านซ้ายจะแตกแขนงออกเป็น 2 เส้นใหญ่
เกิดขึ้นเนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจถูกทําลายจนไม่สามารถจะบีบ
เลือดออกไปเลี้ยงร่างกายได้พอเพียง(Cardiac output ลดลง ) และความดันเลือดจะลดลงตามมา สาเหตุใหญ่มักเนื่องมาจาก
กล้ามเนื้อหัวใจตายทําให้ความสามารถในการบีบเลือดออกมา
ลดลง
สาเหตุcardiogenicshock
สาเหตุจากหัวใจเอง
กล้ามเนื้อหัวใจ เช่น ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน กล้ามเนื้อหัวใจพิการ กล้ามเนื้อหัวใจถูกกดจาก septic shock
สาเหตุจากโครงสร้างของหัวใจผิดปกต
หัวใจเต้นผิดปกติ(arrhythmia)
สาเหตุภายนอกหัวใจ
หัวใจโดนกดจากเลือด น้ำหรือลมในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
ปอดมีพยาธิสภาพทําให้หัวใจปั๊
มเลือดออกไปไม่ได้เ
ให้นํ้าหรือเลือดมากเกินไป
เป็นภาวะช็อคที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปให้เนื้อเยื่อได้เพียงพอ
. Pump failureความผิดปกติจะเกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจและลิ้นหัวใจ เช่น กล้ามเนื้อหัวใจตาย
. ลด Venous returnปริมาณเลือดที่เข้าสู่หัวใจกับระยะคลายตัวเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อปริมาณเลือดออกจากหัวใจ (CO) ดังนั้นสาเหตุใดก็ตามที่
ทําให้เลือดไหลกลับเข้าสู่หัวใจได้น้อยลงก็จะทําให้เกิด Cardiogenic shock ได้
อาการ Cardiogenic Shock
มักเกิดในผู้ป่ วยหัวใจขาดเลือดรุนแรง โดยผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดหัวใจขาดเลือด อาจมีสัญญาณที่บ่งบอกเช่น รู้สึกปวดบีบ แน่นหรือรู้สึกเหมือนถูกกดทับบริเวณกลางหน้าอก ซึ่งจะมีอาการคงอยู่นานกว่า 2-3 นาที ความรู้สึกเจ็บปวดอาจลามไปยังไหลแขนข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง
อาการที่พบได้มีดังนี้
มีอาการวิตกกังวลและสับสน
มือเท้าเย็น
ผิวซีดลง
มีเหงื่อออก
หัวใจเต้นเร็วแต่ชีพจรเต้นเบา
หายใจเร็ว หายใจถี่และสั้น
การวินิจฉัย Cardiogenic Shock
การวัดความดันโลหิตโดยผู้ป่ วยที่มีอาการ Cardiogenic Shock มักจะมีความดันโลหิตตํ่า
การตรวจเลือด
-การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram: ECG/EKG)
การทําเอคโคหัวใจ (Echocardiogram)
การรักษา
การรักษาเฉพาะโรคโดยการรักษาโรคที่เป็นสาเหตุเช่น ให้ยา antiarrhythmic
ในรายที่หัวใจเต้นผิดจังหวะ
การรักษาตามอาการและประคับประคอง
ดูแลเรื่องการหายใจ โดยให้ออกซิเจน และถ้าจําเป็นอาจต้องช่วยหายใจ
ส่งเสริมการทํางานของหัวใจ โดยให้ยากระตุ้นการทํางานของหัวใจ
ภาวะแทรกซ้อนของ Cardiogenic Shock
หากอาการ Cardiogenic Shock รุนแรงและไม่ได้รับการรักษา อวัยวะภายในของผู้ป่วยจะไม่ได้รับออกซิเจนที่เพียงพอจากเลือดที่ไหลเวียนในร่างกายและทําให้อวัยวะนั้น ๆ ได้รับความเสียหายชั่วคราวหรือถาวรได้ เช่น สมองถูกทําลาย
การป้องกัน Cardiogenic Shock
รักษานํ้าหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
รับประทานอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวและคอเลสเตอรอลตํ่า หลีกเลี่ยงการรับประทานไขมันทรานส์
เลิกสูบบุหรี่หรือหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่ที่จะได้รับควันบุหรี่จากผู้อื่น
ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ
ตัวอย่าง สาเหตุการเกิดภาวะช็อคในหัวใจ
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction)
สาเหตุที่สําคัญ
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเกิดจากหลายสาเหตุที่สําคัญคือการอุดตันของหลอดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจทําให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ส่งผลให้สมรรถภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง การส่งเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่าง ๆ ในร่างกายลดลง จึงทําให้มีอาการเจ็บหน้าอกอย่างรุนแรงหรือทันทีทันใด
อาการเจ็บหน้าอกจากโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย
ยจะมีอาการเจ็บหน้าอกในลักษณะเดียวกับ
โรคหัวใจขาดเลือดชั่วขณะ แต่จะเจ็บรุนแรงและนานแม้จะได้นอนพักก็ไม่ทุเลา ผู้ป่วยจะรู้สึกอ่อนเพลีย ใจสั่น หน้ามืด วิงเวียน หายใจหอบเหนื่อย
การวินิจฉัย กล้ามเนื้อหัวใจตายที่ส่งผลให้เกิดภาวะช็อค
1 มีภาวะ Cardiogenic Shock เนื่องจากปริมาตรเลือดที่หัวใจส่งออกต่อนาทีลดลง
.2 ไม่สุขสบายจากอาการเจ็บหน้าอกเนื่องจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย
3.เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลงจากภาวะ
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
4 เสี่ยงภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากประสิทธิภาพการทํางานของหัวใจลดลงจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจ
ตาย
กรณีศึกษาผู้ป่ วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
ข้อมลทั่วไป
ผู้ป่ วยชายไทยอายุ 33 ปี เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย ศาสนาพุทธ สถานภาพสมรส
อาชีพรับจ้าง มีอาการแน่นหน้าอก ร้าวไปไหล่ซ้าย 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่ วยในปัจจุบัน
7 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลีอาการเจ็บแน่นอก
เหมือนถูกของหนักทับ ร้าวไปไหล่ซ้ายเหงื่อออกไม่มีใจสั่น ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน มีอาการเจ็จึงมาโรงพยาบาลเกาะช้างมาถึงโรงพยาบาลมีอาการแน่นหน้าอกมากขึ้น บแน่นตลอดับประทานยาแก้ปวดไม่ดีขึ้น
นางสาวนาซูฮา แซแอ 634N46219