Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hospital Acquired Pneumonia - Coggle Diagram
Hospital Acquired Pneumonia
P.I. 1 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการเวียนศีรษะ อาเจียน ปวดขา แพทย์วินิจฉัยเป็น Left cerebellar hemorrhage และ Left pontine hemorrhage การรักษาที่ได้รับ Right frontal external ventricular drainage , Right frontal venticolostomy tracheostomy และ NG feeding จากนั้นมีไข้สูง มีเสมหะมาก Crepitation to both lung chest X-ray พบ patchy infiltration แพทย์วินิจฉัยเป็น Pneumonia ให้ fortum และ clindamycin refer กลับไปรักษาต่อที่โรงพยาบาลชนบท
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้สูง มีเสมหะมาก หอบเหนื่อยมากขึ้น จึง refer มายังโรงพยาบาลขอนแก่น
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 65 ปี ไม่รู้สึกตัว ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้
C.C. รับ refer จากโรงพยาบาลชนบท ไข้สูง มีเสมหะมากขึ้น หอบเหนื่อยมากขึ้น 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
P.H. Hypertention และ Dyslipidemia
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
RBC = 3290000 L, Hb= 8.6L, Hct = 28.7 L
WBC = 25800H, Neutrophil = 86.5H, Lymphocyte = 8.9L
INR = 1.27H, Pt = 14.4H, PTT = 22.2
BUN = 9 , Cr = 0.22L, eGFR = 133.49
ABG = Metabolic Alkalosis
Na =151H, Cl = 88L, Ca= 34.4H,K = 2.66L, lactate = 2.60 H
CXR patchy infiltration
การรักษาที่ได้รับ
Tazocin 4500 mg q 6 hr (Off)
Meropenem 2 g q 8 hr เริ่ม 20/1/64
Omepazole 40 mg v OD
Thiamine 100 mg v q 8 hr.
ฺBD (1.2:1) 350CC 4 feed
On ventilator carina mode VCV, PCV, SPONT สลับ Collar mask
ตรวจร่างกาย
ฺสัญญาณชีพ BT = 37.8-38.9 C ,HR = 98-118 bpm, RR = 16-24 bpm, BP = 94-134/58-81 mmHg O2sat 97-100% หายใจหอบเหนื่อย
Crepitation to both lung มีเสมหะมาก
มี tracheotomy ,NG feeding , แผลกดทับที่ศีรษะเกรด 1 แผลกดทับที่ก้นกบเกรด 2 Capillary refiew 2 sec
GCS E1VTM1 ถึง E2VTM1 ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้
ตาข้างขวามีต้อกระจก ตาซ้าย pupil 3 mm reaction to right
มือและเท้าบวม ทั้งสองข้าง pitting edema 2+
ระดับความรู้สึกตัว Stupor หลับลึก ตอบสนองต่อสิ่งรุนแรง ถึง Drowsiness เรียกชื่อตื่นลืมตา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ผู้ป่วยมีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
ผู้ป่วยมีภาวะติดเชื้อปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ
ผู้ป่วยมีแผลกดทับเนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้
พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจาก ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
ผู้ป่วยมีระดับความรู้สึกตัวลดลงเนื่องจากมีเลือดออกที่สมอง Cerebellar
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดปกติเนื่องจากมีภาวะโปตัสเซียมในเลือดต่ำ
เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายเนื่องจากภาวะเลือดออกเป็นด่างจากการเผาผลาญสารอาหาร
ญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วย
พยาธิสภาพ
cerebellar hemorrhage และ pontine hemorrhage การรักษาที่ได้ Right frontal external ventricular drainage , Right frontal venticolostomy tracheostomy และ NG feeding จากนั้นผู้ป่วยไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้
เมื่อมีช่องทางเปิดของร่างกาย
เชื้อจุลชีพ
เข้าสู่ทางเดินหายใจ ร่างกายจะมีการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน เมื่อร่างกายไม่สามารถทำลายเชื้อจุลชีพ ทำให้มีอาการไข้ 38-39 องศาเซลเซียส มีเสมหะมาก มีอาการหอบเหนื่อยมากขึ้น ตรวจร่างกาย พบมีหายใจหอบเหนื่อย lung crepitation เม็ดเลือดขาวในเลือดสูง CXR Patchy infiltration