Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคฉี่หนู(Leptospirosis) - Coggle Diagram
โรคฉี่หนู(Leptospirosis)
สาเหตุ
ติดต่อมาสู่คนทางบาดแผล รอยถลอก
ติดโรคจากการย่ำน้ำที่ท่วมขัง การแช่น้ำในห้วยหนองคลองบึง
จากการติดเชื้อแบคทีเรีย
การรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อที่ออกมาจากปัสสาวะ
เชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรค
Leptospira spp.
มีรูปร่างเป็นเส้นเกลียวสว่านวนทางขวา
สามารถตรวจพบด้วยกล้องจุลทรรศน์
พื้นหลังมืดหรือกล้องจุลทรรศน์แบบเรืองแสง
เชื้อจะถูกทำลายด้วยความร้อน ความแห้ง และแสงแดดในเวลาอันรวดเร็ว
การติดต่อ
สัตว์เหล่านี้จะเก็บเชื้อไว้ที่ไตและปัสสาวะออกมาทำให้เชื้อปนเปื้อนในน้ำที่ขังและดินที่เปียกชื้น
สัตว์ที่เป็นแหล่งรังโรค เช่น หนู สุกร สุนัข แมว
เชื้อสามารถไชเข้าสู่ร่างกายคนได้ 2 ทาง คือ
การติดต่อทางตรง การสัมผัสหรือถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัด
การติดต่อทางอ้อม
หายใจเอาละอองนิวเคลียสจากของเหลวที่ปน
เปื้อนเชื้อเข้าไปในร่างกาย
รับประทานอาหารและดื่มน้ำที่มีเชื้อฉี่หนูปนเปื้อน
มือสัมผัสเชื้อที่ปนเปื้อนอยู่ในแหล่งน้ำขัง เข้าสู่ร่างกายทางเยื่อบุตา จมูก ปาก
เชื้อที่ปนเปื้อนอยู่ในแหล่งน้ำขัง เข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังที่มีแผลถลอก
อาการ
ปวดศีรษะรุนแรง ตาแดงแบบไม่มีขี้ตา
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อรุนแรงบริเวณน่อง โคนขา หลัง เอว
ไข้สูงขึ้นอย่างเฉียบพลัน หนาวสั่น
มีผื่นขึ้นบริเวณเพดานปาก เจ็บคอ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน อุจจาระร่วง
รายที่รุนแรงจะมีจุดเลือดออกตามผิวหนัง ตับไตวาย เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การตรวจวินิจฉัย
การเพาะแยกชนิดเชื้อฉี่หนูจากเลือด ควรเก็บก่อนการใช้ยาปฏิชีวนะ
การตรวจหาแอนติบอดีในซีรัม
จากประวัติการย่ำโคลนหรือแช่น้ำนานๆ หรือประกอบอาชีพเสี่ยง
ระยะฟักตัว
เฉลี่ย 10 วัน พบได้ตั้งแต่ 2 ถึง 26 วัน
การรักษาพยาบาล
พบแพทย์โดยเร็วที่สุดภายใน 4-7 หลังปรากฏอาการ
ทานยากลุ่มเพนิซิลิน,เตตระไซคลิน,อิริโธรมัยซิน เพื่อลดอาการแทรกซ้อน
ควรได้รับน้ำหรือสารละลายน้ำตาลเกลือแร่
ฉีดวัคซีนป้องกันโรคแก่สุนัข โค กระบือ
การป้องกันและควบคุม
รักษาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ควบคุมและกำจัดหนูที่เป็นแหล่งรังโรค
ห้ามดื่มน้ำตามธรรมชาติในช่วงที่น้ำท่วม
หลังเดินลุยน้ำ ต้องรีบอาบน้ำให้สะอาดด้วยน้ำสบู่
ควรสวมถุงมือยาง รองเท้าบูท ขณะทำงานสัมผัสดินและน้ำ
ขอแนะนำเพิ่มเติม
รับประทานยาตามแพทย์สั่ง
รับประทานอาหารอ่อนๆ และดื่มน้ำมากๆ
นอนพักผ่อน 3-5 วัน หรือจนกว่าไข้จะหาย
ถ้าอาการรุแควรรีบพบแพทย์