Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics), 1, 3, 2, 4, 5, นิรดา สำโรงแสง…
สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics)
มุ่งอธิบายลักษณะต่าง ๆ ของประชากร โดยอาศัยข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่รวบรวมมา
สถิติเชิงอนุมาน คือสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากรซึ่งสามารถนำผลการวิเคราะห์นั้นไปสรุปอ้างถึงประชากรได้โดยใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็น สถิติเชิงอนุมานประกอบด้วย การประมาณค่า และการทดสอบสมมติฐาน
การเลือกที่ดีต้องเลือกโดย
ระเบียบวิธีการสุ่มตัวอย่างทางสถิติ
ตัวอย่าง (Simple)
หน่วยย่อยของประชากรที่เราเลือกมาศึกษา
การศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการโรงแรมในเครือดุสิตธานี
ตัวอย่าง = สุ่มผู้ที่เข้าพักโรงแรมในเครือดุสิตธานีสาขาละ 100 คน
ประชากร = ผู้ที่เข้าพักโรงแรมในเครือดุสิตธานีทุกคน
การศึกษาภาวะการขาดสารอาหารของสุกร
ตัวอย่าง = สุ่มสุกรจำนวน 400 ตัว ในจังหวัดนครปฐม
ประชากร = สุกรทุกตัวในประเทศไทย
การศึกษาพืชยืนต้นที่ทนต่อสภาวะแห้งแล้ง
ตัวอย่าง = เลือกพืชยืนต้นมา 5 ชนิด ชนิดละ 3 ต้น
ประชากร = พืชยืนต้นทุกชนิด
การศึกษาความเห็นของประชาชนที่มีต่อนโยบายของรัฐบาล
ตัวอย่าง = สุ่มประชาชนจากทุกจังหวัด จังหวัดละ 15 คน
ประชากร = ประชาชนชาวไทยทุกคน
ทำไมต้องสุ่มตัวอย่าง ?
เก็บข้อมูลทั้งหมดต้องใช้ระยะเวลานาน
3.การเก็บข้อมูลต้องใช้งบประมาณ
ประชากรมีจำนวนมาก เราไม่สามารถเก็บข้อมูลเองได้ทั้งหมด
การทำมำมะโน (Census) และการสำรวจตัวอย่าง (Sample survey)
การสำรวจตัวอย่าง = การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
การทำสำมะโน = การเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากร
เปรียบเทียบข้อดี / ข้อเสีย
ค่าพารามิเตอร์ (Parameter)
และค่าสถิติ (Statistic)
ค่าสถิติ = ค่าที่คำนวณได้จากกลุ่มตัวอย่าง
ค่าพารามิเตอร์ = ค่าที่คำนวณได้จากประชากร
นิรดา สำโรงแสง ปศด61/1 เลขที่ 18