Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะช็อกจากหลอดเลือด (DISTRIBUTIVE SHOCK), 2.ออกกำลังกายเป็นประจำ,…
ภาวะช็อกจากหลอดเลือด (DISTRIBUTIVE SHOCK)
สาเหตุภาวะช็อคจากหลอดเลือด
1.ได้รับ endotoxin ทำให้มีหลอดเลือดขยาย (vasodilatation)
การมีปฏิกิริยาการแพ้ซึ่งเป็น antigen-antibodyreaction เช่นการแพ้ยาหรือได้รับสารแปลกปลอมนิยาเช่นยาปฏิชีวนะแอสไพริน สารทึบแสงสำหรับการตรวจวินิจฉัย พลาสม่า วัคซีน D อาหารทำให้ร่างกายมีการหลั่ง histamine และ inflammatory chemical ออกมาทำให้หลอดเลือดขยายและ increase capillary permeability ผลที่ตามมาคือทำให้ความดันโลหิตลดลงเกิดภาวะที่เรียกว่าAnaphylactic shock
เกิดจากการมี traumaต่อ spinal cord ทำให้มีการสูญเสียหน้าที่ของ Sympathetic nerve ที่ควบคุมหลอดเลือดทำให้ผนังหลอดเลือดคลายตัวและมีperipheral vascular resistance ลดลงทำให้มีหลอดเลือดขยายและมีความดันโลหิตลดลงอาจเรียกว่าNeurogenic shock
ภาวะช็อกจากการแพ้
ภาวะช็อคจากการแพ้ คือ ปฏิกิริยาภูมิแพ้รุนเเรงอย่างเฉียบพลันเมื่อร่างกายได้รับสารกระตุ้นจากระบบภูมิต้านทานของบุคคลนั้นไวต่อสารกระตุ้นดังกล่าวมากกว่าคนปกติส่งผลกระทบต่อการทำงานของระบบต่างๆ ภายในร่างกายพร้อมกัน
สาเหตุของภาวะช็อคจากการแพ้
1.เกิดจากการแพ้ยา การแพ้ยางบางชนิด เช่น ยาปฏิชีวนะ
2.การแพ้อาหาร เช่น อาหารทะเล อาหารที่เป็นพิษ
3.ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากน้ำยางของพืช
4.เหงื่อ อากาศ ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้
ภาวะแทรกซ้อนของภาวะจาการแพ้
•ไตวาย
•ภาวะช็อกจากโรคหัวใจCardiogenicShock ทำให้หัวใจสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายไม่ทัน
•ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
•ผู้ป่วยโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่น โรคหลอดลมอุดกั้น เรื้อรัง อาจเกิดจากความเสียต่อปอดหากไม่ได้รับออกซิเจนหลัง เกิดอาการแพ้ทันที หรือในผู้ป่วยโรคเอ็มเอสอาจส่งผลให้มีอาการแย่
•ผู้ที่มีอารภูมแพ้รุนเเรงและไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีอาจจะเสียชีวิตได้ เนื่องจากหัวใจอาจหยุดเต้นเเละขาดอากาศหายใจ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด ทำให้เกิดหลอดเลือดขยาย การไหลของเลือดเร็วขึ้น และมีผลเพิ่ม permeability อาจส่งผลให้ความดันเลือดต่ำ หน้ามืด ช็อก หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ระบบทางเดินหายใจ ทำให้มีการหลั่งสารคัดหลั่งในระบบทางเดินหายใจเพิ่มมากขึ้น หลอดลมเกิดการ หดเกร็ง (bronchospasm) หายใจมีเสียงหวีดจากหลอดลมที่ตีบตัน หรือเกิดการเขียวคล่ำ (cyanosis) เนื่องจากร่างกายรับออกซิเจนไม่เพียงพอ
ระบบทางเดินอาหาร ทำให้มีการหลั่งของของเหลวในระบบทางเดินอาหาร และเพิ่มกระบวนการ peristalsis ของลำไส้ ซึ่งส่งผลอาจทำให้เกิดอาการท้องเสีย คลื่นไส้อาเจียนตามมาได้
ระบบผิวหนัง เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและเยื่อเมือก ทำให้เกิดอาการคัน ผื่นลมพิษ หน้าแดง เยื่อบุตาแดง น้ำตาไหล และ angioedema
อาการและอาการแสดง
ระบบผิวหนัง เช่น ผื่นแดง หรือคันโดยไม่มีผื่น
ระบบทางเดินหายใจ เช่น หอบเหนื่อย หายใจมีเสียงวี๊ด บวม ในระบบหายใจส่วนบน เยื่อบุจมูกอักเสบ คัดจมูก น้ำมูกไหล เสียงแหบ หรือสมรรถภาพของปอดลดลง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น ความดันโลหิตลดลง หัวใจเต้นเร็ว
ระบบประสาท กระสับกระส่าย กระวนกระวาย วิตกกังวล เวียนศรีษะปวดศีรษะ ความรู้สึกตัวลดลง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
เจาะเลือดตรวจวัดระดับเอนไซม์ Tryptase ที่อาจเพิ่มสูงขึ้นในช่วง
3 ชั่วโมงหลัง ได้รับสารก่ออาการแพ้อย่างรุนแรงทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังหรือการตรวจเลือดเพื่อระบุสิ่งกระตุ้นที่เป็นตัวทำให้เกิดอาการแพ้
พยาธิสภาพ
ร่างกายได้รับสารที่เปรียบเสมือน antigenจะกระตุ้น ให้มีการสร้าง antibody ทำให้มีการหลั่งสารเคมี mediators หลอดเลือดขยายตัว permeability เพิ่มขึ้น สารน้ำซึมออกจากหลอดเลือดฝอย หลอดหดเกรง หลอดเลือดหัวใจหดตัว เกิดปฏิกิริยาการอักเสบบริเวณผิวหนัง เป็นผื่นแดง
ภาวะช็อคเหตุพิษติดเชื้อ
การป้องกันตนเองจากภาวะช็อคจากพิษเหตุติดเชื้อ(Septic shock)
6.มาพบแพทยเ์มื่อสงสัยภาวะติดเชื้อตั้งแต่ระยะแรกๆ เช่น เมื่อมีอาการไข้
5.ฉีดวัคซีนป้องกันโรคที่ป้องกันได้ เช่น วัคซีนไข้หวัดใหญ่ วัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบ
4.รักษาและควบคุมโรคประจำตัวให้ดี
3.รับประทานอาหารสุก สะอาด ล้างมือด้วยน้ำ และสบู่บ่อยๆ
1.รักษาสุขภาพให้แข็งแรง
สาเหตุของภาวะช็อคเหตุพิษติดเชื้อ
ภาวะ Septic Shock เป็นผลมาจากการติดเชื้อในกระแสเลือดขั้นรุนแรง ซึ่งอาจเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา หรือ
เชื้อไวรัส โดยมักเป็นการติดเชื้อที่เกิดขึ้นกับระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย เช่น ปอด ระบบย่อยอาหาร ทางเดินปัสสาวะ
การวินิจฉัยภาวะช็อคเหตุพิษติดเชื้อ
การตรวจเลือด
การตรวจตามปัจจัยเสี่ยง
แพทย์จะพิจารณาจากอาการและผลตรวจเลือดของผู้ป่วย จากนั้นจึงตรวจด้วยวิธีอื่นเพิ่มเติมเพื่อระบุตำแหน่งที่เกิดการติดเชื้อ เช่น ตรวจปัสสาวะ ตรวจผิวหนังบริเวณที่เกิดบาดแผลว่ามีการติดเชื้อหรือไม่ และเจาะตรวจของเหลวในไขสันหลัง
การตรวจทางรังสีวิทยา
หากวิธีการตรวจข้างต้นยังไม่สามารถระบุตำแหน่งการติดเชื้อได้อย่างชัดเจน แพทย์อาจใช้วิธีการถ่ายภาพด้วยรังสีต่าง ๆ เพิ่มเติม เช่น การเอกซเรย์ การทำCT scan การทำ MRI Scan หรือการอัลตราซาวด์
เป็นการตรวจเบื้องต้นที่จะช่วยระบุความผิดปกติต่าง ๆ ได้ เช่น ตรวจหาเชื้อก่อโรคในเลือด ตรวจการแข็งตัวของเลือด ตรวจของเสียในเลือด ตรวจการทำงานของตับและไต ตรวจหาปริมาณออกซิเจนที่ลดลง ตรวจหาระดับเกลือแร่ที่ไม่สมดุล
ภาวะแทรกซ้อนของภาวะช็อคเหตุพิษติดเชื้อ
ผู้ป่วยภาวะ Septic Shock อาจเสี่ยงเกิดอาการแทรกซ้อนที่รุนแรงและเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ เช่น หัวใจวาย ไตวาย ตับวาย ภาวะการหายใจล้มเหลว ความผิดปกติด้านการแข็งตัวของเลือด โรคหลอดเลือดสมอง เป็นต้น ซึ่งผู้ป่วยแต่ละรายอาจมีความเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนมากน้อยแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับอายุ ระยะเวลาในการเริ่มต้นรักษา สาเหตุและตำแหน่งของการติดเชื้อในร่างกาย และสุขภาพโดยรวมของผู้ป่วยใน
การป้องกันภาวะช็อคเหตุพิษติดเชื้อ
Septic Shock เป็นภาวะที่ร้ายแรงและป้องกันได้ยาก แต่อาจลดความเสี่ยงได้ด้วยการหมั่นสังเกตความผิดปกติของร่างกาย หากสงสัยว่ามีการติดเชื้อก็ควรไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจวินิจฉัยแต่เนิ่น ๆ เพื่อป้องกันการลุกลามของเชื้อที่อาจนำไปสู่ภาวะ Septic Shock ได้ ส่วนผู้ที่มีระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ ควรระมัดระวังด้านการติดเชื้อมากเป็นพิเศษ และดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกายเป็นประจำ ล้างมือทุกครั้งก่อนรับประทานอาหารหรือหลังจากเข้าห้องน้ำ งดสูบบุหรี่และไม่ใช้ใช้สารเสพติด รวมถึงหลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่ติดเชื้อ
พยาธิสภาพ
เกิดจาการทำหน้าที่ของหลอดเลือดผิดปกติ เริ่มจากแคทีเรีย ปล่อย cruittoxin เข้ามาในกระแสเลือดมีผลต่อร่างกายโดยการเกิดการอักเสบ โดยเกิดจากเนื้อเยื่อบริเวณนั้นถูกทำลายส่งให้เกิดการขยายตัวของหลอดเลือดบริเวณนั้น
ภาวะช็อคจากหลอดเลือด คือมีปริมาณการไหลเวียนเลือดในร่างกายไม่เพียงพอ Insufficient intravascular blood volume) อาจเรียกว่า Relativehypovolemia
เกิดจากการเสียหน้าที่ของ sympathetic tone ของหลอดเลือดทำให้หลอดเลือดขยายตัวทำให้เกิด Systemic vascular resistance ลดลงเป็นผลให้ความดันโลหิตลดลง
ชีพจรเต้นเร็วแต่เบา หรือบางรายอาจไม่เต้น
หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
หายใจตื้นและเร็ว
วิงเวียนศีรษะ หน้ามืด
เจ็บแน่นหน้าอก
2.ออกกำลังกายเป็นประจำ