Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช - Coggle Diagram
บทที่1
มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช
1) stress diathesis model
การมียีนส์หรือการรวมกันทางพันธุกรรมที่เฉพาะเจาะจง ส่งผลให้เกิดจุดอ่อน
จุดอ่อนทางพันธุกรรมถูกกระตุ้นด้วยด้วย
ปัจจัยบางประการหรือสถานการณ์ความเครียดก็จะก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ผิดปกติได้
2) case formulation
ปัจจัย 4 ประการ (4 P’s)
1.ปัจจัยเสี่ยง (predisposing factors)
สิ่งที่แฝงอยู่ใน
ตัวบุคคล ที่น่าจะนำไปสู่การเกิดความผิดปกติของโรคทางจิตเวชเช่น พันธุกรรม, ภาวะโภชนาการ, การเลี้ยงดู, บุคคลิกภาพ, ประการณ์การเจ็บป่วยทางกาย, รายได้
3.ปัจจัยที่ทำให้อาการคงอยู่ (perpetuating factors)
ความเชื่อทัศนคติหรือพฤติกรรมของบุคคล ที่เกิดขึ้นยังไม่หาย เช่น การไม่ได้รับการรักษา, การไม่รับประทานยาต่อเนื่อง
2.ปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการ (precipitating factors)
สิ่งแวดล้อม
ภายนอกที่ทำให้บุคคลเริ่มปรากฏความผิดปกติ การใช้สารเสพติด, การนอนหลับ
เปลี่ยนแปลง, สอบตก, สัมพันธภาพล้มเหลว (แฟนทิ้ง/หย่า/แยกกัน), การมีหนี้สิน
4.ปัจจัยปกป้อง (protective factors)
ความเชื่อทัศนคติ
หรือพฤติกรรมของบุคคล ที่ช่วยให้บุคคลปรับตัวต่อสถานการณ์
ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวช
1) ปัจจัยทางกายหรือชีวภาพ (Biological factors)
การทำหน้าที่ผิดปกติของสารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
-dopamine เป็นสารสื่อประสาทที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว
dopamine มากเกินไป จะมีความสัมพันธ์กับการป่วยเป็นโรคจิตเภต(schizophrenia) มีอาการคลุ้มคลั่ง
(mania)
dopamine น้อยเกินไปจะสัมพันธ์กับการเกิดโรคซึมเศร้า (depressive illness)
-serotonin ระดับของ serotoninจะมีความสัมพันธ์ กับโรคอารมณ์แปรปรวน (mood disorder) โรคย้ำคิดย้ำทำ (obsessivecompulsive disorder) และโรคจิตเภท (schizophrenia)
• norepinephrine มากเกินไป มีส่วนเกี่ยวข้องกับโรควิตกกังวล โรคอารมณ์แปรปรวน (mood disorder) แสดงอาการคลุ้มคลั่ง
ถ้ามี norepinephrineในระดับน้อยจะสัมพันธ์กับการเกิดภาะวะซึมเศร้าได้
• GABA (gamma amino butyric acid) ทำให้เกิดภาวะสมดุล ในผู้ป่วยโรคชัก (seizure disorder) และโรควิตกกังวล (anxiety disorder) จะมีปริมาณของ GABA ลดลงกว่าปกติ
• acetylcholine หากผู้ป่วยมีการสูญเสียเซลส์ประสาทบริเวณนี้จะทำให้ระดับของ acetylcholine ลดลง
ความผิดปกติของโครงสร้างและการทำงานของสมอง
พันธุกรรม (genetics)
ความผิดปกติที่มีมาแต่กำเนิด (congenital abnormal)
ความผิดปกติของฮอร์โมนในร่างกาย (hormonal factor)
การสะสมของสารพิษภายในร่างกาย (toxic substance alcoholism)
2) ปัจจัยทางด้านจิตใจ (psychological factors)
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ : มาจากการทำงานของโครงสร้างบุคลิกภาพที่ไม่สมดุลกัน (Id, Ego และ Superego)
ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม (humanistic theories) : มาจากความไม่รู้ ไม่เข้าใจปัญหาที่แท้จริงของตนเอง ขาดความตระหนัก
รู้ หรือยอมรับตนเองและสิ่งแวดล้อมตามความเป็นจริง
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม : มาจาก ประสบการณ์ของมนุษย์ที่ผ่านการเรียนรู้การตอบสนองต่อสิ่งเร้าในสภาวะสิ่งแวดล้อม
ต่าง ๆในช่วงชีวิตที่ผ่านมา จนกลายเป็นความเคยชิน
ทฤษฎีกลุ่มปัญญานิยม : ความเชื่อที่ผิดปกติหรือไม่สมเหตุสมผลขอมนุษย์
3) ปัจจัยทางด้านสังคม (social factors)
การอบรมเลี้ยงดูและความรักใคร่ในครอบครัว การศึกษา ปัจจัยทาง
เศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม การเมือง และศาสนาที่ทำให้เกิดปัญหาโรคทางจิต
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ บริเวณที่ตั้งของที่อยู่อาศัย
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
การศึกษา การขาดการศึกษาถูกบังคับให้เรียนในสิ่งที่ไม่ชอบ
เศรษฐกิจและสังคม ปัญหาทางด้านการเงินหรือความยากจน
4) ปัจจัยทางจิตวิญญาณ (spiritual factors)
ปรัชญาชีวิต (Philosophy of Life) การตั้งเป้าหมายชีวิต มุมมองต่อชีวิต และต่อโลกใบนี้ การให้คุณค่าในตนเอง
อาการวิทยา
1.ความผิดปกติของความรู้สึกตัว (disturbance of consciousness)
ความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลื่อนไหว (disturbanceof motor behavior)
ความผิดปกติของการพูด (disturbanceof speech)
4.ความผิดปกติของอารมณ์ (disturbanceof emotion)
5.ความผิดปกติของความคิด (disturbance of thinking)
6.ความผิดปกติของการรับรู้สัมผัส (disturbance of perception)
เกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวช
1) International Classification of Disease and Related Health Problem 10th Revision
(ICD 10)
F00-F99 : organic including symptomatic, mental disorders
F10-F19 : mental and behavioral disorders due to psychoactive substance use
F20-F29 : schizophrenia schizotypal and delusional disorders
F30-F39 : mood (affective) disorders ความผิดปกติทางอารมณ
F40-F49 : neurotic stress-related and somatoform disorders
F50-F59 : behavioral syndromes associated with physiological disturbances and
F60-F69 : disorders of adult personality and behavior
F70-F79 : mental retardation ภาวะปัญญาอ่อน
F80-F89 : disorders of psychological development
F90-F99 : ความผิดปกติทางพฤติกรรมและอารมณ์ ที่มักเริ่มต้นในวัยเด็กและวัยรุ่น
F99 : unspecified mental disorder
2) Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder 5 th edition (DSM V)
Axis I: clinical syndromes ข้อวินิจฉัยโรคและอาการทางจิตพฤติกรรม
Axis II: developmental disorders and personality disorders
Axis III: physical conditions
Axis IV: severity of psychosocial stressors
Axis V: Highest Level of Functioning
สิทธิของผู้ป่วย
1) เพื่อปกป้องคุ้มครอง ส่งเสริมและปรับปรุงคุณภาพชีวิตและสุขภาพจิตของประชาชน
2) เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยธรรมชนของผู้ที่มีความผิดปาติทางจิต
3) เพื่อเป็นการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากผู้ป่วยจิตเวช