Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยเด็ก - Coggle Diagram
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยเด็ก
เด็กวัยทารก(Infancy)
เริ่มจากอายุแรกเกิดถึง 1 ปี
พัฒนาการ
ด้านร่างกาย เด็กจะเติบโตอย่างรวดเร็วต่อเนื่อง และสามารถสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจนตั้งแต่
การปรับตัวทางสรีระหรือระบบต่างๆของร่างกาย โดยเฉพาะการเจริญเติบโตมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ อวัยวะที่สำคัญที่สุดคือ สมอง
เป็นวัยที่มีการติดเชื้อง่ายกว่าวัยอื่น เพราะระบบภูมิคุ้มกันยังไม่สมบูรณ์อย่าง
เต็มที่ และภูมิคุ๎มกันโรค
พยาบาลต้องเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กโดยให้ความสนใจโดยเฉพาะเรื่องดังนี้
แบบแผนการได้รับนมและอาหารเสริม
แบบแผนการนอนหลับ
แบบแผนการขับถ่าย
พัฒนาการของ
กล้ามเนื้อและระบบประสาท จาก รีเฟลกซ์ (reflex) ถึงการเคลื่อนไหวอย่างมีจุดมุ่งหมายและอยู่ภายใต้การควบคุมของสมอง
ปัญหาสุขภาพที่สำคัญและพฤติกรรมเสี่ยง
ปัญหาทางร่างกาย
-ภาวะตัวเหลือง
-อาเจียน
-สะอึก
-ลิ้นเป็นฝ้า
ปัญหาจากสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงด้านจิตใจ
-อารมณ์ไม่พอใจและตื่นเต้น
-อารมณ์โกรธ
ปัญหาจากสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของทารกด้านสังคม
-การกลัวคนแปลกหน้า
การประเมินสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
การประเมินด้านการเจริญเติบโต
ความสูงหรือความยาว
น้ำหนัก
ขนาดของรอบศีรษะ
รอบอก รอบท้อง
การขึ้นของฟัน
การประเมินพัฒนาการ
สามารถประเมินได้จาก แบบทดสอบ Denver Development Test
(DDST) ปัจจุบันพัฒนาเป็น Denver II
การประเมินสุขภาพโดยใช้แบบแผนสุขภาพ
Objective data
เป็นข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การตรวจรํางกาย การวัดการเจริญเติบโต
Subjective data
เป็นข้อมูลที่ได้จากการซักประวัติจากตัวผู้ป่วย ผู้เลี้ยงดู คนใกล๎ชิด
แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพ
การสร้างเสริมสุขภาพด้านร่างกาย
ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ควรให้ทารกแรกเกิดถึง 6 เดือน
ส่งเสริมให้ทารกได้รับอาหารเสริมเหมาะสมตามวัย
ส่งเสริมให้ทารกมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
ส่งเสริมพัฒนาการให้เป็นไปตามวัยโดยการใช้ของเล่น
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันเหมาะสมกับวัย
การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตใจ
เป็นวัยที่ที่ต้องการการปกป้องดูและเป็นพิเศษ การกอดรัด การสัมผัส ลูบตัวทารกเบาๆ จะ
ทำให้ทารกรู้สึกอบอุ่น มั่นคง ปลอดภัย อารมณ์ดี ไมํควรกระตุ้นทารกอย่างรุนแรงและรวดเร็วเกินไป
การสร้างเสริมสุขภาพด้านสังคม
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างบิดามารดากับทารก ให้เป็นความสัมพันธ์ทางบวกที่เกิดขึ้นทีละ
น้อยและมีความมั่นคงถาวร เป็นความรู้สึกรักใคร่ของทั้งสองฝ่าย
การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตวิญญาณ
ควรเน้นการทักษะการพัฒนาทางด้านกล้ามเนื้อ เช่น เดิน วิ่ง หยิบจับ ทักษะในการตีความและ
สื่อสารกับคนอื่น
เด็กก่อนวัยเรียน (Pre-school)
เป็นช่วงที่เด็กมีอายุระหว่าง 1-5 ปี
พัฒนาการ
การเจริญเติบโตของเด็กในช่วงนี้จะช้าลงและคํอนข้างคงที่ มีความสามารถทางร่างกายเพิ่มขึ้น ขยายทักษะทางความรู้คิดทำให้สามารถเป็นอิสระได้มากขึ้น
ปัญหาสุขภาพที่สำคัญและพฤติกรรมเสี่ยง
ด้านร่างกาย
ปัญหาสุขภาพในช่องปาก
ปัญหาภาวะโภชนาการ
ปัสสาวะรดที่นอน
โรคเหา
โรคผิวหนัง
อุบัติเหต
ด้านจิตใจ
อารมณ์โมโหร้าย
ความกลัว
การดูดนิ้วหัวแม่มือ
ด้านสังคม
ความอิจฉา
การหยิบของผู้อื่น
การพูดโกหก
การกลัวการไปโรงเรียน
พฤติกรรมก้าวร้าว
ด้านจิตวิญญาณ
ปัญหาพูดติดอ่าง
ปัญญาพูดไม่ชัด หรือออกเสียงผิดปกติ
ปัญหาการพูดช้า
การประเมินสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพวัยหัดเดินและวัยก่อนวัยเรียน
แนวทางการประเมินสุขภาพ
ทำได้โดยการซักประวัติและตรวจร่างกาย ซึ่งการตรวจร่างกายควรทำผ่านการเล่นและให้มารดาอยู่ด้วย การตรวจควรเริ่มจากการตรวจที่ไม่ลุกล้ำเข้าไปในร่างกายของเด็ก
การตรวจหู หรือคอ ควรตรวจเป็น
อันดับสุดท้าย
แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพ
ด้านร่างกาย
ป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคติดเชื้อด้วยวัคซีน
ส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพฟัน
ส่งเสริมการอยากรับประทานอาหาร
สร้างเสริมสุขลักษณะการนอนที่ดี
การปรับปรุงพฤติกรรมปัสสาวะรดที่นอน
ส่งเสริมการหัดเดินด้วยการเลือกรองเท้าที่เหมาะสม
การสร้างเสริมพัฒนาการด้านร่างกายทั่วไป
ด้านจิตใจ
การปรับพฤติกรรมเด็กเจ้าอารมณ์อาละวาด
การสร้างเสริมวุฒิภาวะทางอารมณ์
การส่งเสริมสุขภาพจิตทั่วไป
ด้านสังคม
การพัฒนาการเล่น
ในช่วงอายุ 0-3 ปี
ควรให้ความสำคัญต่อเรื่องการเลํน เพราะเด็กกำลังพัฒนาประสาทสัมผัสทั้งห้า จึงควรเลือกของเล่นที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมกับเด็กตามวัย
ด้านจิตวิญญาณ
ส่งเสริมพัฒนาการทางภาษา
ส่งเสริมศักยภาพการออกเสียงให้ชัดเจนเป็นปกติ
ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาทั่วไป
เด็กวัยเรียน
เด็กที่มีอายุระหวําง 6-12 ปี
พัฒนาการ
ด้านร่างกาย โดยทั่วไปจะช้าและคงที่จนกระทั่งเข้าสู่ระยะก่อนวัยรุ่น จะมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยปกติมักเกิดระหว่างอายุ 9-14 ปี สำหรับเด็กผู้หญิง และอายุ 12-16 ปีในเด็กผู้ชาย การทำงานของกล้ามเนื้อและสมองและทักษะการรู้คิดมีความชัดเจนและขยายมากขึ้น
ปัญหาสุขภาพที่สำคัญและพฤติกรรมเสี่ยง
ด้านร่างกาย
ปัญหาสุขภาพในช่องปาก
ปัญหาภาวะโภชนาการ
ปัญหาโรคติดเชื้อและพาราสิต
อุบัติเหตุและการบาดเจ็บ
ด้านจิตใจ
การไม่อยากไปโรงเรียน
ปัญหาการเรียน
ปัญหาปัสสาวะรดที่นอน
ด้านสังคม
การลักขโมย
ปัญหาเด็กขาดการดูแลหลังเลิกเรียน
ด้านจิตวิญญาณ
ปัญหาที่สัมพันธ์กับพัฒนาการด้านภาษา
แนวทางการประเมินสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการประเมินสุขภาพ
ทำได้โดยการซักประวิติและตรวจร่างกายจากตัวเด็กเอง หรือจากผู้ดูแล
การตรวจร่างกายจะต้องตรวจตั้งแต่ศีรษะจนถึงเท้า
ควรตรวจอวัยวะสืบพันธุ์เป็นอันดับสุดท้าย
เด็กวัยเรียนตอนต้นควรให้มารดาอยู่ด้วย ในเด็ก
วัยเรียนตอนปลายอาจให้พํอแมํ หรือผู้ปกครองอยู่นอกห้องถ้าเด็กต้องการ
แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพ
ด้านร่างกาย
ส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพช่องปาก
ส่งเสริมผู้ปกครองในการจัดหาอาหารที่เหมาะสมตามวัย
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
ส่งเสริมทักษะการป้องกันอุบัติเหต
ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายทั่วไป
ด้านจิตใจ
สร้างเสริมความมั่นใจในการไปโรงเรียน
ส่งเสริมความสามารถในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ
ด้านสังคม
ส่งเสริมความเข้าใจเรื่องการเป็นเจ้าของในวัยเรียนในวัยเรียนที่มีพฤติกรรมลักขโมย, ให้รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเองและครอบครัว, สร้างเสริมวินัย , สร้างเสริมทักษะที่จำเป็น , ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม , ส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองหากจำเป็นต้องอยู่บ้านคนเดียว
ส่งเสริมบทบาทผู้ปกครองในการแก้ปัญหาเรื่องเด็กติดโทรทัศน์
ด้านจิตวิญญาณ
ส่งเสริมบิดามารดาหรือผู้เลี้ยงดูให้สามารถนำเสนอให้รู้จักโลกมากขึ้น