Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน
พฤติกรรมสุข
ของเด็กวัยเรียน
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
มีการเปลี่ยนแปลงในหลายด้านทั้งทางร่างกายอารมณ์ สังคม
วัฒนธรรมตะวันตก และสื่อต่างๆ
พฤติกรรมการออกกำลังกาย
ปัจจุบันเด็กวัยเรียนมีการออกกำลังกาย
และทำกิจกรรมทางกายน้อยลง
เด็กจะใช้เวลาว่างไป
กับการทำกิจกรรมอื่นๆ
ดูโทรทัศน์
อ่านหนังสือการ์ตูน
เรียนพิเศษ
เล่นเกมส์คอมพิวเตอร์
พฤติกรรมการผ่อนคลาย
ดูโทรทัศน์
เล่นเกมส์คอมพิวเตอร์
เดินเล่นตามห้างสรรพสินค้าเป็นต้น
ปัญหาสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ปัญหาโภชนาการ
ปัญหาการขาดสารอาหาร
ภาวะขาดโปรตีนและพลังงาน
โรคโลหิตจาจากการขาดธาตุเหล็ก
โรคขาดสารไอโอดีน
ปัญหาเหล่านี้ส่ผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตช้า เจ็บป่วยบ่อย
ความสามารถในการเรียนรู้ลดลงและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ
สำหรับในเขตเมืองมีแนวโน้มของภาวะโภชนาการ
เกินสูงกว่าชนบท ซึ่งผลกระทบทำให้เกิดโรคอ้วนเมื่อเป็นผู้ใหญ่
ปัญหาโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์มีแนวโน้มลดลง ส่วนปัญหาโภชนาการเกินมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
โรคติดเชื้อ
โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนและ
โรคติดเชื้อที่มีสัตว์เป็นพาหะ
ไข้เลือดออก
ไข้สมองอักเสบ
โรคมาเลเรีย
โรคติดเชื้อที่พบมากที่สุด
ไข้หวัด
ไข้เลือดออก
โรคผิวหนัง
เหา
กลาก
เกลื้อน
หิด
แผลพุพอง
ปัญหาสุขภาพช่องปาก
ฟันผุ
เหงือกอักเสบ
โดยจะเริ่มเกิดขึ้นตั้งแต่อายุ 6 ปี
ความผิดปกติของสายตา
อุบัติเหตุและการบาดเจ็บ
การใช้สารเสพติด
ปัญหาด้านจิตใจ อารมณ์ และพฤติกรรม
ปัญหาอื่นๆ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
เด็กติดเกม
เล่นการพนัน
ปัจจัยที่มีอิทธิพล
ต่อสุนภาพเด็กวัยเรียน
ด้านตัวเด็ก
วัย
พันธุกรรม
เพศ
พฤติกรรมสุขภาพ
ด้านครอบครัว
สัมพันธภาพและบรรยากาศของครอบครัว
พฤติกรมสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว
ระดับการศึกษา และฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว
ด้านสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพและชีวภาพ
ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน
เช่น อากาศ น้ำ ที่อยู่
สิ่งแวดล้อมด้านสังคม ได้แก่ โรงเรียน
เพื่อนนักเรียนและครู สื่อต่างๆ
เช่น วิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ท
ด้านระบบบริการสุขภาพ
บทบาทหน้าที่พยาบาลชุมชน
ในงานอนามัยโรงเรียน
การสร้างเสริมสุขภาพ
การตรวจสุขภาพนักเรียนเป็นการค้นหานักเรียนที่มีโรคหรือข้อ
บกพร่องทางด้านสุขภาพเพื่อให้ได้รับความช่วยเหลือในระยะเริ่ม
แรก ป้องกันไม่ให้เป็นโรครุนแรง หรือป้องกันการเกิดความพิการ
และยังเป็นการจูงใจให้นักเรียนสนใจปรับปรุงสุขภาพตนเอง
การให้ความรู้เรื่องการตรวจสุขภาพนักเรียนแก่ครูหรือนักเรียนจะ
ทำให้ผู้รับการตรวจสนใจและนำไปปฏิบัติ เช่น การชั่งน้ำหนัก วัด
ส่วนสูง โดยนำมาเทียบกับน้ำหนักและส่วนสูงมาตรฐาน จะช่วยให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลง หรือการเจริญเติบโตที่ผิดปกติของ
ร่างกาย ดังนั้นจึงควรชั่งน้ำหนักทุกเดือนหรืออย่างน้อยภาคกร
ศึกษาละ1ครั้ง
การลงบันทึกบัตรสุขภาพนักเรียน ทุกคนต้องมีบัตรบันทึกสุขภาพ
ประจำตัว ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะทำให้ทราบประวัติ
และภาวะสุขภาพของนักเรียนแต่ละคนเป็นระยะๆ
การส่งเสริมการออกกำลังกาย โดยการผยแพร่
ประชาสัมพันธ์การออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพในโรงเรียน
และเป็นที่ปรึกษา แนะนำ ส่งเสริมให้โรเรียนจัดกิจกรรม
ออกกำลังกายเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง
การป้องกันโรค
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเนื่องจากนักเรียนอยู่รวมกันโอกาสที่
โรคติดต่อจะแพร่กระจายจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งจึงง่ายและ
รวดเร็วบางโรคมีความรุนแรงมากก็อาจทำลายสุขภาพของเด็กถึง
พิการหรือเสียชีวิตได้ พยาบาลที่รับผิดชอบจึงควรมีแผน
และเป้าหมายในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่นักเรียนให้
ครอบคลุมตามระดับอายุของนักเรียน
การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
เพื่อสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
แก่นักเรียนตลอดจนป็นตัวอย่างที่ดีแก่ชุมชน
การรักษาพยาบาลนักเรียนที่เจ็บป่วย
เมื่อพยาบาลที่รับผิดชอบอนามัยโรงเรียนตรวจสุขภาพนักเรียนแล้วพบว่ามีนักเรียนเจ็บปวย เช่น หวัด หิด เหา กลาก เกลื้อน ฯลฯ
พยาบาลจะต้องรักษานักเรียนที่เจ็บป่วยทุกโรคที่สามารถรักษาได้ แต่ถ้ารักษาไม่ได้ เช่น ฟันผุ ไส้ติ่งอักเสบ ต้องส่งต่อนักเรียนไปรับการรักษาที่ถูกต้องต่อไป
การฟื้นฟูสภาพนักเรียน
พยาบาลที่รับผิดชบงานอนามัยโรงเรียนมีหน้าที่ดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีความผิดปกติ ทางด้านร่างกายและจิตใจ
เพื่อให้นักเรียนสามารถปรับตัวและคงไว้ซึ่งการทำงานของร่างกาย
เพื่อให้นักเรียนสมารถปรับตัวและคงไว้ซึ่งการทำงานของร่างกาย
เพื่อดำรงชีวิตปกติให้ได้มากที่สุด โดยการทำงานเป็นทีมร่วมกับสหสาขาวิชชีพด้นกาฟื้นฟูสภาพ ได้แก่ แพทย์ นักกายภาพบำบัด นักกิจกรรมบำบัด เป็นต้น
เพื่อบรรลุเป้าหมายในการฟื้นฟูสภาพที่ตั้งไว้
บทบาทพยาบาลชุมชนในการ
สนับสนุนเพื่อพัฒนาสู่โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ร่วมเป็นคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน
โดยร่วมจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนอย่าง
เป็นระบบนับตั้งแต่การรวบรวมวิเคระห์ปัญหาสุขภาพ
ร่วมวางแผนดำเนินงานร่วมตรวจสอบ ทบทวน
และร่วมแก้ไขปรับปรุงพัฒนา
ประสานงานและให้ความร่วมมือกับหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการดำเนินงานตามโครงการ
ด้านสุขภาพของโรงเรียน
ครูผู้ปกครอง และสมาชิกของชุมชนจะได้รับความรู้เกี่ยว
กับสุขภาพอนามัยเพื่อนำไปปฏิบัติให้เกิดทักษะการดูแล
สุขภาพที่เหมาะสม
ตัวชี้วัดของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพความสอดคล้องกับ
ตัวชี้วัดการประเมินคุณภาพการศึกษา ก่อให้เกิดผลดีต่อ
โรงเรียนในการรับการประเมินจากภายนอก
โรงเรียนมีโอกาสได้รับความร่วมมือและการช่วยเหลือ
จากชุมชนและองค์กรต่างๆ เพิ่มขึ้น