Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะช็อคจากปริมาณไหลเวียนเลือดลดลงHypovolemic shock - Coggle Diagram
ภาวะช็อคจากปริมาณไหลเวียนเลือดลดลงHypovolemic shock
กลไกล
Blood loss
เกิดจากมีเสียเลือดไปโดยตรง เช่น External hemorrhage, Internal hemorrhage Hemothorax, Hemoperitoneum, During hemodialysis (เพราะมีการนำเลือดออกจากระบบไปฟอก)
GI loss
Vomiting, Diarrhea
Renal loss
Diuretics: เกิดจากลดการดูดกลับ Na+ ทำให้เพิ่มความเข้มข้นน้ำกรอง ส่งผลให้การดูดกลับน้ำลดลง (เพราะลด osmolality gradient), Loop diuretics จะมีกลไกเพิ่มเติมนิดนึงตรงที่มีการลด Renal medulla interstitial concentration ด้วย เพราะ Loop diuretics บล็อคการดูดกลับ Na+ บริเวณขาขึ้นของ Henle loop ซึ่งทำลายกลไก Counter current - ลดการดูดกลับ Free water: เช่น ภาวะ Diabetes insipidus - ลดการดูดกลับ Na+ จาก hypoaldosternism: เช่น Primary adrenal insufficiency
Burn
เนื่องจากมีการ expose บริเวณ dermis กับสิ่งแวดล้อมทำให้น้ำใน interstitium ถูกกระบวนการระเหยออกไป ทำให้น้ำในระบบถูกกรองออกมา แล้วระเหย
สาเหตุ
สูญเสียเลือด
อาจจะสูญเสียจากการได้รับบาดเจ็บมีหลอดเลือดที่ฉีกขาด มีเลือดออกในทางเดินอาหาร ไอเป็นเลือด Aneurysmแตก เลือดออกมากในระหว่างการผ่าตัด การคลอด
สูญเสียน้ำและเกลือแร่(Dehydration)
เช่น เหงือออกมาก ท้องเสีย อาเจียนปัสสาวะมากจากโรคเบาจืด ได้รับยาขับปัสสาวะ โรคไตหรือ Addison’s disease
สูญเสียพลาสมา
จากหลอดเลือดแต่ยังคงอยู่ในร่างกาย เช่น ได้รับบาดเจ็บชอกช้ำ(Trauma)หรือมีการอักเสบรุนแรงของอวัยวะภายใน การสูญเสียสูญเสียโปรตีนในพลาสมาด้วย
การสูญเสียในลักษณะนี้ยังแบ่งได้เป็น2แบบ คือสูญเสียออกจากร่างกาย เช่น ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก (Burns)และสูญเสียน้ำในเลือด ไม่ว่าจะสาเหตุใด จะลดปริมาตรเลือดเข้าหัวใจ(Venous return)ลด Cardiac output และลดความดันโลหิตตามมา ทำให้เซลล์ได้รับเลือดลดลงจึงเกิดภาวะช็อก
พยาธิสภาพ
hypovolemicmic shock เกิดจาก ปริมาณน้ำในระบบไหลเวียนเลือดลดลง ต่อมาจึงทำให้ bp drop และทำให้เกิดปริมาณเลือดที่กลับจากหัวใจ(preload)ลดลงต่อมาทำให้ปริมาณเลือดที่หัวใจบีบตัวในแต่ละครั้งหรือเรียกว่า Stroke volume ลดลงนั่นเองเมื่อ strok volume ลดลงแล้วก็ทำให้ cardiac output ลดลง เมื่อcardiac output ลดลงแล้วยังทำให้เกิดการขน O2 ไปยังเซลล์ลดลงและเมื่อการขน O2 ไปยังเซลล์ลดลงจึงทำให้เกิดการไหลเวียนเลือดและการกำซาบของเนื้อเยื่อไม่เพียงพอเมื่อการไหลเวียนเลือดไม่เพียงพอจึงทำให้เกิดเนื้อเยื่อขาดออกซิเจนและยังทำให้เซลล์ขาด O2อีกด้วย
ปัจจัยเสี่ยง
ร่างกายเสียน้ำ อวัยวะไม่ได้รับออกซิเจนและสารอาหารเพียงพอที่จะทำงานอย่างถูกต้องหรือเลือดมากเกินไป
ติดเชื้ออย่างรุนแรงในกระแสเลือด
แพ้สารต่างๆ หรืออาการแพ้ประจำตัว
การทำงานที่ผิดปกติของระบบประสาทและสมอง
โรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจ
ยาบางอย่างที่ช่วยลดการทำงานของหัวใจหรือความดันโลหิต
อุบัติเหตุ
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยที่มีการสูญเสียเลือดน้อยกว่า 15% ของปริมาณเลือดทั้งหมด จะมีอาการแค่ ชีพจรและอัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
ผู้ป่วยเสียเลือดประมาณ 15-30% ของเลือดทั้งหมด จะมีอาการ tachycardiac tachypnea และมี hypotension มีการลดลงของ co มีการเพิ่ม peripheral vascular resistance และมี pulse pressure แคบ มีการเปลี่ยนแปลงของ urine output เล็กน้อย
ผู้ป่วยเสียเลือดประมาณ 30-40% ของปริมาณเลือดทั้งหมด อาการแสดงเหมือนเสียเลือด 15-30% ร่วมกับมีการลดของ urin output และมีการเปลี่ยนของ mental
ผู้ป่วยเสียเลือดประมาณ 40-50% อาการแสดงจะพบอาการทุกอย่างของภาวะ shock เช่น ซีด เย็น เย็นชื้น อาการเขียวคล้ำ ชีพจรเต้นเบา หายใจตื้น เร็ว กระสับกระส่าย หมดสติ ความดันโลหิตต่ำ ม่านตาขยาย คลื่นไส้ อาเจียน หน้ามืด