Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งปฏิกูล, นางสาวสุวิมล ชมภูพื้น รหัสนักศึกษา…
การจัดการสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งปฏิกูล
ปัสสาวะหรืออุจจาระและรวมถึงสิ่งโสโครก มีกลิ่นเหม็น เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์นำโรคและเชื้อจุลินทรีย์และสามารถปนเปื้อนกับแหล่งดิน แหล่งน้ำ
ปัญหาและผลกระทบต่อสุขภาพชุมชน
เป็นแหล่งแพร่พันธุ์ของจุลินทรีย์และแมลงก่อโรค
ส่งกกลิ่นไม่พึงประสงค์
เกิดปัญหามลพิษทางดินและน้ำจากสารปนปื้อน
สูญเสียเศรษฐกิจ
อัตราส่วนส้วมต่อจำนวนผู้ใช้(WHO)
1 : 5-6
ข้อกำหนดที่สำคัญในการกำจัดสิ่งขับถ่าย
ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนต่อดิน
ไม่ทำให้เกิดการปนเปื้อนต่อน้ำผิวดิน
ไม่ทำให้เกิดการปนเปื้อนต่อน้ำใต้ดิน
การป้องกันแมลงและสัตว์
ป้องกันกลิ่นและความน่ารังเกียจ
ห้ามนำอุจจาระสด/สลายตัวไม่สมบูรณ์ใช้ทำปุ๋ย
ควรเป็นส้วมที่ใช้ง่าย ดูแลรักษาง่ายและราคาไม่แพง
ส้วม(Privy/Latrine/Toilet)
ที่ตั้ง
ระยะทางระหว่างแหล่งน้ำดื่มน้ำใช้
ควรอยู่ด้านใต้ของทางลาดของเนินดินและอยู่ทางใต้ของระดับบ่อน้ำ
อย่างน้อย100ฟุต
ถ้าพื้นที่จำกัด ควรห่างอย่างน้อย 15M หรือ 50ฟุต
ความลึก
ส้วมซึม
สูงกว่าระดับใต้ดินอย่างน้อย 3M
ส้วมหลุมธรรมดา
สูงกว่าน้ำใต้ดินอย่างน้อย1.5M
ลักษณะของผิวดิน
พื้นที่แห้ง
ระบายน้ำดี
น้ำท่วมไม่ถึง
อยู่ใต้ทิศทางลมเพื่อป้องกันกลิ่นพัดเข้าที่อยู่อาศัย
บริเวณที่เป็นหินปูน/ดินที่มีรอยแยกสิ่งสกปรกอาจแทรกซึมออกมาตามรอยแยก
การจัดการการขับถ่าย
ระบบไม่ใช้น้ำขับเคลื่อน
ส้วมหลุม
พื้นส้วมยกสูงกว่าระดับผิวดินไม่น้อยกว่า30cm
ถมดินรอบๆปากหลุมให้เป็นคันดินอัดแน่น ห่างจากปากหลุมโดยรอบไม่น้อยกว่า 50cm
ควรมีฝาปิดมิดชิด
ข้อดี
ราคาถูก
ข้อเสีย
มีกลิ่นรบกวน
ทำความสะอาดลำบาก
ส้วมหลุมเจาะ
ลึก4-10m
ใช้งานไม่เกิน2ปี
มีโอกาสปนเปื้อนน้ำใต้ดิน
ข้อดี ใช้สะดวก ไม่มีกลิ่นรบกวน
ส้วมหลุมตัน
เหมาะสำหรับบ้านใกล้แหล่งน้ำ บ้านเรือนแพ
ดูดถ่ายเมื่อเต็มถัง
ส้วมถังเท
ใช้ภาชนะคล้ายถังรองสิ่งขับถ่าย
นิยมใช้ในค่ายพักแรมชั่วคราว
ส้วมเคมี
เหมาะกับยานพาหนะ
หลังขับถ่ายต้องราดน้ำยาเคมีทุกครั้ง
ส้วมหลุมตื้นหรือส้วมสนาม
เอาผลั้วตักดินกลบทุกครั้งหลังขับถ่าย
สร้างไว้ใช้งานชั่วคราว
ค่ายทหารชั่วคราว
ค่ายลูกเสือ
ไม่มีฝาปิด
ระบบใช้น้ำขับเคลื่อน
ส้วมซึม
ปล่อยน้ำให้ซึมออกจากหลุมส้วมเข้าสู่ชั้นดินรอบๆหลุม
มีถังเก็บอุจจาระ 2 ถัง
ถังซึม
ถังตกตะกอน
เหมาะสำหรับพื้นที่ไม่ขาดเเคลนน้ำ
ป้องกันกลิ่นและแมลง
มี 2 แบบ
ลาดน้ำด้วยมือ
กดชักโครก
ส้วมถังเกรอะ
เก็บสิ่งขับถ่ายไว้ในส้วมที่ป้องกันน้ำซึมออกเพื่อให้เกิดการย่อยสลายดี
ระบายน้ำออกเกิดการดูดซึมในชั้นดินใกล้ผิวดิน
ส้วมถังเกรอะแบบเติมอากาศ
ใช้aerobic bacteriaในการย่อย
ส้วมใช้ร่วมกับระบบการกำจัดน้ำโสโครก
เชื่อมระบบการกำจัดสิ่งขับบถ่ายต่อเข้ากับระบบท่อรับน้ำเสีย น้ำโสโครกโดยตรงและ
นำไปบำบัดร่วมกัน
ณ โรงงานบำบัด
เช่น
โรงงานบางแห่ง
อาคารชุด
อาคารสงเคราะห์
โรงพยาบาล
สนามบิน
นางสาวสุวิมล ชมภูพื้น รหัสนักศึกษา 600972