Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
การจัดการสิ่งแวดล้อม
สภาพปัญหาและแนวโน้มของปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพของชุมชน
คุณภาพอากาศ
ภาวะมลพิษทางอากาศ (Air pollution)
สภาวะที่มีของเสียซึ่งอยู่ในสภาพเป็น ไอเสีย กลิ่น ควัน ก๊าซ เขม่า ฝุ่นละออง เถ้าถ่าน หรือ สารอื่นที่มีสภาพละเอียด
มลพิษ
CO
ผาไหม้ของน้ามันที่ไม่สมบูรณ์
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
NOx
เผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล
โรคทางเดินหายใจ
สารตะกั่ว
การเผาไหม้ alkyl lead
สมอง ไต โลหิต ระบบประสาทส่วนกลาง และระบบสืบพันธุ์
SO2
ถ่านหินและน้ำมัน
โรคหอบหืด
PM-10
การเผาไหม้ของเครื่องยนต์ดีเซล
เข้าไปในปอด
O3
ปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย
ปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย
คุณภาพของน้ำ
ประเภทสิ่งสกปรกที่เจือปน
ชีวภาพ
แบคทีเรีย ไวรัส หนอน พยาธิ
กายภาพ
การดู การดมกลิ่น ดัชนีหรือพารามิเตอร์ (Parameter)
เคมี
ความเป็นกรด-ด่าง หรือค่าพีเอซ ความกระด้าง ปริมาณออกซิเจน ที่ละลายน้ำ เหล็กและแมงกานีส คลอไรด์ ฟลูออไรด์ ไนเตรท ตะกั่ว สารหนู ไตรฮาโลมีเทน
การสร้างบ่อน้ำเพื่อใช้น้ำในการอุปโภคบริโภค
บ่อขุด บ่อตอก บ่อเจาะ
ประเภท
บ่อน้ำตื้น ความลึกไม่เกิน 100 ฟุต เป็นบ่อที่ขุดลงไปจนถึงชั้นดินอุ้มน้ำชั้นแรก
บ่อน้ำลึกหรือบ่อน้าบาดาล เป็นบ่อที่หรือเจาะลึกผ่านชั้นดินอุ้มน้ำชั้นแรก
ลงไปจนถึงชั้นดินอุ้มน้ำชั้นสอง
ปัญหาน้ำเสีย (Waste water)
กายภาพ
ความขุ่น สี กลิ่น อุณหภูมิ
เคมี
อนินทรีย์
ค่าพีเอช(pH) น้ำที่มีมลพิษคือค่าสูงกว่า 9 (กัดกร่อน) หรือต่ำกว่า 5
ค่าคลอไรด์ (Chloride) เกิดจากสิ่งปฏิกูล
ความกระด้างของน้ำ เช่น เกลือไบคาร์บอเนต เกลือซันเฟต เกลือคลอไรด์และเกลือไนเตรด
โลหะหนัก (Heavy metal)
สารกัมมันตภาพรังสี (radioactive substance)
สารประกอบที่เป็นพิษ (Toxic Compounds)
สารอินทรีย์
ค่าบีโอดี(Biochemical Oxygen Demand: BOD) ค่าปกติบีโอดี 2 มิลลิกรัมต่อลิตร
ค่าซีโอดี(Chemical Oxygen Demand: COD) ถ้าพบว่าสูง
แสดงว่าน้ำในแหล่งน้ำนั้นมีสารอินทรีย์ปนเปื้อนอยู่มาก
ก๊าซ (Gases)
ปริมาณของออกซิเจนในน้ำ (Dissolved Oxygen =DO) ค่า DO ต้องมีอย่างน้อย 5 มก/ลิตร ค่าปกติคือ 9.2 มก/ลิตร
ชีวภาพ
Coliform เป็นกลุ่มแบคทีเรียที่มีอยู่ในลำไส้สัตว์เลือดอุ่น
ไม่เกิน 2.2 ต่อน้ำ100มิลลิลิตร
การกำจัดน้าเสีย
วิธีธรรมชาติ (self-purification)
การทำให้เจือจาง (dilution)
กลับสู่สภาพดี แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)
ควบคุมการปล่อยน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำ
มูลฝอยและของเสีย
หมายถึง เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า พลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ หรือซากสัตว์
ผลกระทบต่อสุขภาพชุมชน
บ่อเกิดของเชื้อโรค/จุลินทรีย์
แหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนาโรค
กลิ่นเหม็น
อุบัติเหตุ
น้ำเสีย
ซากเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
สูญเสียทางเศรษฐกิจ
การจัดการ
ควบคุมการทิ้ง
ปรับปรุงการเก็บการทำลาย
โรงงานอุสาหกรรม พิจารณาให้มีการเก็บและทาลาย
สิ่งปฏิกูล
หมายถึง อุจจาระหรือปัสสาวะ
ผลกระทบต่อสุขภาพชุมชน
เป็นแหล่งแพร่พันธุ์ของจุลินทรีย์และแมลงนำโรค
ความน่ารังเกียจและเหตุรำคาญ
มลพิษทางดิน และน้ำ
สูญเสียเศรษฐกิจ
ส้วม
7 ประการ
ไม่เกิดการปนเปื้อนต่อดิน
ใช้ง่าย ดูแลรักษาง่ายและราคาไม่แพง
ห้ามนำอุจจาระสดหรือสลายตัวไม่สมบูรณ์ใช้ทำปุ๋ย
การป้องกันกลิ่นและความน่ารังเกียจ
ส้วมจึงไม่ควรสูงจากระดับน้ำใต้ดินต่ำกว่า 3 เมตร
การป้องกันแมลงและสัตว์
ไม่เกิดการปนเปื้อนต่อน้ำผิวดิน
ระบบการจัดการขับถ่าย
ระบบใช้น้ำขับเคลื่อน ได้แก่ ส้วมซึม ส้วมถังเกรอะ ส้วมถังเกรอะ
แบบเติมอากาศ และส้วมใช้ร่วมกับระบบการกาจัดน้ำโสโครก
ระบบไม่ไช่น้ำขับเคลื่อน ได้แก่ ส้วมหลุม ส้วมหลุมตัน ส้วมถังเท และส้วมเคมี
การควบคุมแมลงและสัตว์กัดแทะ
แมลงวัน
การสุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม
ตู้เก็บอาหารหรือมีภาชนะปกปิดอาหาร
การบำบัดและกาจัดน้ำเสีย
ห้องน้าและห้องส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
ทำความสะอาดคอกสัตว์หรือสถานที่เลี้ยงสัตว์
กาจัดเศษอาหารมูลฝอย
จัดการขยะมูลฝอย
การควบคุมด้วยกายภาพ
ไม้ตี
กับดัก
ด้านสารเคมี
แมลงสาบ
สุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงบ้านอาคารและบริเวณให้ถูกหลักสุขาภิบาล
ไม่ให้เข้าสู่ตัวอาคาร
ชุมชนต้องให้ความร่วมมือมีการดูแลด้านการจัดการมูลฝอย
การควบคุมด้วยกายภาพ
ทำลายไข่แมลงสาบ
ดูแลทำความสะอาด
ด้านสารเคมี
หนู
พาหะนำโรค
ตัวหนูโดยตรง ได้แก่ โรคไข้ฉี่หนู หรือ เล็บโตสไปโรซีส โรคไข้หนูกัด โรคไข้สมองอักเสบ (Angiostrongyliasis) โรคพยาธิตาบวม (Trichinosis) โรคไข้สมองอักเสปไวรัส (LCM)
หมัดหนู ได้แก่ กาฬโรค ไข้รากสาดใหญ่ (Murine Typhus fever Flea borne)
ไรหนู ได้แก่ ไข้รากสาดใหญ่ (Scrub typhus Mite borne)
เหาหนู ได้แก่ ไข้กลับซ้ำ (Relapsing Fever Louse borne) ไข้รากสาดใหญ่
เห็บหนู ได้แก่ ไข้กลับซ้ำ ( Relapsing Fever , Tick borne)
การควบคุม
การป้องกันไม่ให้หนูเข้าสู่อาคารหรือที่พักอาศัย
ปิดหรืออุดทางเข้าออก
กำจัดขยะ
ใช้กรงดัก
เก็บพวกอาหารแห้ง
การรมควัน
การวางเหยื่อพิษก่อน
ใช้สิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติที่เป็นศัตรูกับหนู เช่น สุนัข แมว งู
ยุง
มี 4 ระยะ ได้แก่ ระยะเป็นไข่ (egg stage) ระยะตัวอ่อน (larva stage) ระยะเป็นดักแด้ (pupa stage)และระยะตัวเต็มวัย (adult stage)
การควบคุม
แหล่งเพาะพันธุ์ยุง
ระบายน้ำ ถมที่ และให้สุขศึกษา
ยุงตามระยะต่างๆ
ขนาดเล็กมาก ขัดล้าง
ลูกน้ำและตัวโม่ง ปิดฝาภาชนะเก็บน้ำมิดชิด คว่ำภาชนะ เทน้ำที่ขัง เปลี่ยนถ่าย และสารเคมีฆ่าลูกน้ำ
ตัวเต็มวัยหรือยุง ใช้พ่นสารเคมีในชุมชนและกัมมันตภาพรังสี
อนามัยสิ่งแวดล้อม
การป้องกันโรค โดยการควบคุม ขจัด แก้ไข ดัดแปลง ปรับปรุง
ความสำคัญ
ลดอัตราป่วยและอัตราตายของประชาชน
สร้างเสริมสุขภาพของประชาชน
ด้านสุนทรียภาพและความเจริญในชุมชน
ส่งเสริมเศรษฐกิจของชุมชน
ขอบเขตงาน
การจัดหาน้ำสะอาดเพื่อบริโภคและอุปโภค
การควบคุมมลพิษทางน้ำ
การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
การควบคุมสัตว์
ป้องกันและควบคุมมลพิษทางดิน
สุขาภิบาลอาหาร
ควบคุมมลพิษทางอากาศ
สาธารณภัย (Disaster)
8 ชนิด
พายุหมุนเขตร้อน
อุทกภัย
พายุฟ้าคะนองหรือพายุฤดูร้อน
แผ่นดินถล่ม
แผ่นดินไหว
คลื่นพายุซัดฝั่ง
ไฟป่า
ฝนแล้ง
2 ลักษณะ
สาธารณภัยที่เกิดจากรรรมชาติ (Natural Disaster)
สาธารณภัยที่เกิดจากมนุษย์
(Man-made Disaster)
วงจรการจัดการ
การประเมินความเสี่ยง (Risk for disaster)
การป้องกัน (Prevention)
การบรรเทาผลกระทบ (Mitigation)
การเตรียมพร้อม (Preparedness)
การรับสถานการณ์ฉุกเฉิน (Emergency Response)
การฟื้นฟูบูรณะ (Recovery)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
การจำแนก
ลักษณะการเกิด
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ดิน น้ำ อากาศ พืช สัตว์
มนุษย์สร้างขึ้น
รูปธรรม เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย
นามธรรม เช่น สังคม วัฒนธรรม กฎหมาย
ลักษณะของการมีชีวิต
มีชีวิต
จุลินทรีย์ พืช สัตว์ มนุษย์
ไม่มีชีวิต
ดิน น้ำ อากาศ เครื่องอุปโภคบริโภค
องค์ประกอบของสิ่งแวดล้อม
กายภาพ
เคมี
ชีวภาพ
สังคม
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
องค์ประกอบ
มีชีวิต (biotic )
ไม่มีชีวิต (ab iotic)
บทบาทของพยาบาลชุมชนในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม
4 มิติ
การปกป้องคุ้มครอง
การเป็นผู้พิทักษ์สิทธิ์ให้ประชาชนในการให้ข้อมูลการเจ็บป่วย
การควบคุม
ผู้ให้คำปรึกษาทางเทคนิค วิชาการแก่ผู้ประกอบการในการแก้ไขปัญหามลพิษ สิ่งแวดล้อม
การป้องกัน
ระดับปฐมภูมิ
การเป็นผู้สอนและให้การปรึกษา ร่วมจัดทำโครงการ เช่น โครงการหมู่บ้านสะอาด
ระดับทุติยภูมิ
การเก็บตัวอย่างสิ่งแวดล้อมส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจสุขภาพในผู้ปฏิบัติงาน
ระดับตติยภูมิ
ผู้ให้ความรู้ ให้คำปรึกษา เป็นผู้ร่วมงาน เป็นผู้วิจัยหรือเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การกำกับและทบทวน
ติดตามปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยการกำกับให้มาตรการหรือกิจกรรม