Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Term Pregnancy with Previous caesarean section in labor with GDMA2,…
Term Pregnancy with Previous caesarean section in labor with GDMA2
General information
หญิงไทย G4P2-1-0-2 GA 37^2 by U/S อายุ 33 ปี
สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย ; คอนโด 9 ชั้น อาศัยอยู่ชั้น 3 มีลิฟต์
Present illness
5 hr PTA รู้สึกเจ็บครรภ์ ท้องตึง ทุก 3-5 นาที นาน 20 วินาที ไม่มีน้ำเดิน
30 min PTA เลือดออกทางช่องคลอด ประมาณ 1 ฝ่ามือ ไม่มีน้ำเดิน ไม่มีจุกแน่นลิ้นปี่ ไม่มีตาพร่ามัว ไมีมีปวดศีรษะ ลูกดิ้นดีมากกว่า 10 ครั้ง/วัน ไม่ไข้ ไม่เจ็บคอ ไม่มีหายใจหอบเหนื่อย
Chief Complaints
มีเลือดออกทางช่องคลอด 30 min PTA
Past History
C/S in 2552, 2554, 2562 BE
Previous C/S
Underlying Disease
GDMA2
Drug Allergy
ฉีดยา Buscopan เกิดผื่นและคันทั้งตัว
Family History
มารดา HT DM และ มะเร็งกระดูก เสียชีวิตแล้ว
Vital Sign แรกรับ
T 36.8 C
P 94/min
R 18/min
BP 118/86 mmHg
Admit [ 19 ม.ค. 2564 ] 01.40 น.
Antenatal Care
ข้อมูลผู้ป่วย
ประวัติการตั้งครรภ์
ครรภ์แรก
ปี 2552
C/S GA 24 wks ผ่าคลอดทางหน้าท้องเป็นแฝดชายชายตัวติดกันตั้งแต่แรกคลอด สภาพทารกปัจจุบัน คือ เสียชีวิต
ครรภ์ที่ 2
10 มิ.ย. 2554
C/S Full Term เพศชาย น้ำหนัก 2,740 กรัม ภาวะแทรกซ้อน ตัวเหลือง
ครรภ์ที่ 3
3 เม.ย. 2562
C/S Full Term เพศชาย หนัก 3,096 กรัม ภาวะแทรกซ้อน ตัวเหลือง
ครรภ์ปัจจุบัน
ฝากครรภ์ที่ รพ. ตำรวจ 10 ครั้ง
ฝากครรภ์ที รพ. กลาง 2 ครั้ง
ฝากครรภ์ที่ รพ. กล้วยน้ำไท 5 ครั้ง
ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่อ GA 8 Wks 3 days (15 มิ.ย. 2563)
LAB
Urinary Analysis
GA 8 Wks 3 days
15 มิ.ย. 2563
Albumin
Neg
Bacteria
Neg
Sugar
Neg
GA 33 Wks 1 day by U/S
22 ธ.ค. 2563
Albumin
2+
Sugar
3+
GA 33 Wks 3 day by U/S
24 ธ.ค. 2563
Albumin
2+
Sugar
Neg
โลหิตวิทยา
GA 28 Wks
16 พ.ย. 2564
Rh ; Positive
ABO gr ; O
HbeAg ; -
HIV Ab ; Neg
HBsAg ; Neg
VDRL ; Neg
Hct 37.7
Hb 13.1
GA 8 Wks 3 days
15 มิ.ย. 2564
MCV 86.5
การคัดกรอง Thalassemia
Hb E Screen ; Neg
GA 33 Wks 1 day by U/S
22 ธ.ค. 2563
Hct ; 41.3
VDRL ; Neg
Anti HIV ; Neg
ได้รับการฉีดวัคซีนบาดทะยักเข็มกระตุ้น 10 สิงหาคม 2563 ที่โรงพยาบาลกลาง
น้ำหนัก 74.2 kg
BMI ; 30.10 kg/m^2
OBESITY
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 74.2 Kg
LMP 18 เมษายน 2563 x 4 วัน
EDC 23 มกราคม 2564
ส่วนสูง 157 cm.
Labor Room
การตรวจครรภ์
ยอดมดลูก 3/4 > สะดือ,
Vertex Presentation,
HPE,
OL,
FHS 140/min regular
Progress of Labor
1.30
ยังมี mild contraction
00.10
มี order ให้ Pethidine 25 mg IV push
23.30
arrived at LR มี mild contraction q 6'-7' observe ที่ห้องเตรียม ยังไม่ให้ admit OL, FHS regular, Os closed
ดู contraction q 1 hr ตั้งแต่ Arrived = พบมี mild contraction q 6'-7' มาตลอด
1.40
Admit LR Observe
5.30
I = 2'20'', D = 25 s, In >+
DTX = 148 mg%
5.50
ปากมดลูกเปิด 1 cm eff 25% sta -1 OL FHS 140 MI
plan set C/S at 07.00
2.45
5% DN/2 1000 ml IV drip 100 ml
6.00
off 5% DN/2 1000 ml IV drip 100 ml
ให้ RLS 1000 ml drip rate 100 ml/hr
6.30
I = 3'30'', D = 25'', In >+ ,OL FHS 160/min
7.10
ย้ายไป OR สู
Post Partum
13B
11.Baby
คลอดเวลา 7.53 น.
น้ำหนัก 2,810
Apgar 9,10,10
ภาวะแทรกซ้อน
เพศ ชาย
6.Bladder
24 ชั่วโมงแรก R/F
1.Background
8.Bottom
C/S
3.Body temperature & Blood pressure
day 0 - 2 ไม่มีไข้ ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ
2.Body condition
day 0 รับย้ายจาก LR ผ่าน OR ถึงวอร์ด 9.15 รู้สึกตัวดี ไม่ซีด ไม่เวียนศีรษะ
แผลผ่าตัด pfannenstiel incision ปิด guaze fixomull ไว้ ปวดแผลผ่าตัด PS = 1
day 1 รู้สึกตัวดี ให้ Ambulate ได้ แต่ยังมีเจ็บแผลผ่าตัดเวลาขยับตัว
day 2 รู้สึกตัวดี ไม่บ่นปวดแผล Ambulate ได้ดี สีหน้าสดใส ไม่ซีด อาบน้ำแล้ว
4.Breast & lactation
LATCH Score
Type of nipples
2 คะแนน
ปกติ
Audible
ได้ยินกลืนน้ำนมไม่ชัดเจน
1 คะแนน
Hold
1 คะแนน
ประคองทารกได้ดีปานกลาง ส่วนใหญ่ถูกต้องแต่มีบางส่วนต้องแก้ไข
Latch
อมไม่ลึกถึงลานหัวนม อมแค่ระดับหัวนม
1 คะแนน
Comfort
2 คะแนน
สะดวกสบาย ไม่เจ็บปวด เวลาให้นมหรือหลังให้นมลูก
10.Blues
ไม่เครียด สามารถพูดคุยได้ ไม่หงุดหงิด
12.Bonding & Attachment
สัมพันธภาพระหว่างครอบครัวดี สามีมาดูแล มารดาเลี้ยงดูบุตรเป็นอย่างดี
7.Bleeding & lochia
Estimated Blood Loss จาก OR 500 ml
day 0-3 น้ำคาวปลาเป็นสีแดง ไม่มีกลิ่นเหม็น ใน 24 hr หลังคลอด Blood loss < 1,000 ml จึงไม่มี
ภาวะตกเลือดหลังคลอด
5.Belly & Fundus
Pain
C/S จึงไม่มีการวัดยอดมดลูก และดูการหดรัดตัวของมดลูก
9.Bowel movement
day 2 ไม่มีปวดท้อง ท้องผูก ผายลมได้ แต่ยังไม่ถ่าย
day 1 ไม่มีปวดท้อง ท้องผูก ยังไม่ผายลม
day 0 ไม่มีปวดท้อง ท้องผูก
13.Belief model
ดูแลตนเองหลังคลอดปกติทั่วไป ไม่มีความเชื่อเรื่องการอยู่ไฟ
Operating Room
C/S section with TR due to previous C/S with labor pain with GDMA2
TR :red_cross: due to severe adhesion
Estimate Blood Loss 500 ml
ทารก
คลอดเวลา 7.53 น.
น้ำหนัก 2,810
Apgar 9,10,10
ภาวะแทรกซ้อน
เพศ ชาย
เบาหวานในหญิงตั้งครรภ์
GDM
GDMA1
การรักษา
ควบคุมอาหาร :check:
เบตาเซลล์ของตัดอ่อนถูกทำลายจากปฏิกริยาภูมิต้านทานภายในร่างกาย (Autoimmune) หรือติดไวรัสบางชนิด Ex. Rubella etc. จนไม่สามารถสร้างinsulin ได้ ทำให้น้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ
ผลกระทบของโรคเบาหวาน
มารดา
-hypoglycemia
-preeclampsia
-Spontaneous abortion
-PPH
-Preterm labor
-Infection
ทารก
neonatal hyperbilirubinemia
จากมีการสร้าง RBC มากกว่าปกติ จากภาวะพร่อง O2 และตับทำหน้าที่ขับได้ไม่สมบูรณ์
neonatal hypoglycemia
Intrauterine growth restriction ; IUGR
Macrosomia
delay lung maturity
จากสร้างสารที่เปื้อนส่วนประกอบของสารเคลือบถุงลมปอด(phosphatidyl glycerol) ช้า -->surfactant สมบูรณ์ช้ากว่าปกติ (สมบูรณ์เมื่อ GA 38wk.)
birth injuries
congenital malformation พิการ
GDMA2
ภาวะดื้อต่อ insulin (insulin resistance)
จากฮอร์โมน Human placental lactogen (HPL) ที่ สร้างจากรก ออกฤทธิต้านการทำงานของฮอร์โมน อินซูลิน (Insulin antagonis) ทำให้เนื้อเยื่อต่างๆ ไม่สามารถนำน้ำตาลจากกระแสเลือดเข้าสูเซลล์ได้
ทำให้ เกิดภาวะ hyperglycemia โดยเฉพาะหลังรับประทานอาหาร
(Postprandial hyperglycemia)
ความต้องการ insulin ในแต่ละไตรมาส
1" ระดับน้ำตาลไม่คงที่ อาจ hypoglycemia ตอนกลางคืน ความต้องการ insulin ลดลง 10-25 % เพื่อป้องกัน Hypoglycemia ต้องการ insulin 0.7 หน่วย/BW1kg/day
3" ต้องการ insulin 0.9-1.2 หน่วย/BW1kg/day
2'' ร่างกายมารดาเปลี่ยนมาใช้ไขมันเป็นพลังงาน
เพื่อสำรองกลูโคสไว้ให้ทารก --> ต้องการ insulin มากขึ้น 30-9 0 %ต้องการ insulin 0.8 หน่วย/BW1kg/day
การรักษา
ควบคุมน้ำตาลในกระแสเลือดโดยฉีดอินซูลิน :check:
ระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นเวลานาน-->
ทำลายเซลล์เยื่อบุหลอดเลือดแดงและเส้นประสาททั่ว ร่างกาย
ทำให้ ปริมาณเลือดไหลเวียนผ่านรก ไปเลี้ยงทารก น้อยลง
เบตาเซลล์ของตับอ่อนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซูลินได้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เนื่องจาก เบตาเซลล์ลดลง 40-50 %
จำแนก
Gestational diabetes mellitus (GDM)
(ตรวจพบครั้งแรกขณะตั้งครรภ์)
ตรวจพบหลังตั้งครรภ์ 20 wks
Pregestational diabetes mellitus/Overt DM
(เบาหวานก่อนการตั้งครรภ์)
ตรวจพบก่อนตั้งครรภ์ 20 wks
การตรวจคัดกรองเบาหวาน
การวินิจฉัย
คัดกรองโดยวิธี BS 50 gm
ผล BS 50 gm > 140 mg/dL : :check:
ตรวจ 100 gm OGTT
ค่าผิดปกติมากกว่าหรือเท่ากับ 2 ค่า
GDM
FBS > 95 mg/dL หรือ 2 hr pp > 120 mg/dL
1 more item...
FBS < 95 mg/dL และ 2 hr pp < 120 mg/dL
คัดกรอง OGTT : ผิดปกติ 3 ค่า
:check:- 108 mg/dl
:check:- 242 mg/dl
:check:- 198 mg/dl
95 mg/dl
ค่าปกติทุกค่า : ตรวจ 100 gm OGTT ซ้ำเมื่ออายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์
ค่าผิดปกติ 1 ค่า : นัดตรวจ 100 gm OGTT ซ้ำ ภายใน 1 เดือน
หญิงตั้งครรภ์ผลตรวจ BS 50 gm = 234 mg/dL
คัดกรองเมื่อ
GA 14 wks by U/S
10 ส.ค. 2564
จาก รพ.กล้วยน้ำไท
ผล BS 50 gm < 140 mg/dL
ตรวจ50 gm GCT ซ้ำที่อายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์หรือเมื่อมีอาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลืด
ข้อบ่งชี้
อายุ 30 ปีขึ้นไป :check:
ตรวจพบภาวะตั้งครรภ์แฝดน้ำ
ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ >+1
น้ำหนักตัวมาก BMI > 27 :check:
เคยมีประวัติ Gestational Diabetes (GDM) ในครรภ์ก่อน :check:
ตรวจพบมีความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์ หรือมีประวัติโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
มีประวัติไม่ดีทางสูติศาสตร์
ทารกตายคลอดไม่ทราบสาเหตุ
ทารกพิการโดยกำเนิด
มีประวัติคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 4000 กรัม
ทารกเสีชีวิตในครรภ์
มีญาติสายตรงเป็นเบาหวาน (บิดามารดาหรือพี่น้องท้องเดียวกัน) :check:
มีประวัติเป็น GDM ในครรภ์ก่อน
C/S ใน 24 ชั่วโมง ต้องไม่เกิน 1,000 ml
GDMA2 :check:
GDMA1