Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคไตร่วมกับการตั้งครรภ์ (Pregnancy with Renal Disease) - Coggle Diagram
โรคไตร่วมกับการตั้งครรภ์ (Pregnancy with Renal Disease)
การพยากรณ์โรค
Creatinine มากกว่า 3 mg/dl ทารกแทบไม่มีโอกาสรอดชีวิตเลย
Creatinine มากกว่า 1.4 mg/dl จะมีโอกาสคลอดทารกก่อน
ก่าหนด
โรคลูปัส
อาการและอาการแสดงของโรคลูปัส
อาการทางข้อและกล้ามเนื้อ
อาการทางผิวหนัง
อาการทางระบบประสาท
อาการทางระบบโลหิต
อาการทางหัวใจและปอด
อาการทางไต
อาการทางระบบทางเดินอาหาร
สาเหตุ
รังสียูวี (Ultraviolet) ในแสงแดด
การย้อมสีผม
ยาหลายชนิดที่ใช้รักษาควบคุมโรคลูปัสช่วงตั้งครรภ์
ยากันชักบางชนิด Phenytoin
ยาลดความดันโลหิตบางตัว เช่น Hydralazine
ยารักษาวัณโรคบางชนิด เช่น Isoniazid
การสูบบุหรี่
อาหารบางชนิด
การรับประทานอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวปริมาณมาก
การติดเชื้อของร่างกาย
การใช้ฮอร์โมนต่างๆ เช่น เอสโตรเจน
การพยาบาล
ทานอาหารมีประโยชน์ 5 หมู่ให้ครบถ้วนในทุกวัน
ควรพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่เครียด
หมั่นสังเกตตนเองว่ามีผื่นแดง ตัวบวมทั้งตัว ปวดตามข้อ ข้อบวมแดงร้อน ตาพร่ามัว ปวดศีรษะ
ควรสังเกตทารกดิ้นในแต่ละวัน
การออกก่าลังกาย โดยการเดินเล่นเป็นระยะทางสั้นๆ
การดูแล
สูติแพทย์จะท่าการนัดฝากครรภ์ให้ผู้ป่วยโรคลูปัส ในคลินิกการตั้งครรภ์ความเสี่ยงสูง นัดดูแลการฝากครรภ์ถี่ขึ้นเป็นทุก 2 สัปดาห์ และมีการตรวจเลือด การตรวจปัสสาวะทุกครั้งที่มาฝากครรภ์หรือมีการตรวจอัลตราซาวด์ทารก เพื่อตรวจวินิจฉัยหาความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้น เช่นหัวใจเต้นผิดจังหวะ ปากแหว่ง เพดานโหว่ และประเมินน้่าหนักทารก
การมีเพศสัมพันธ์ ไม่ได้เป็นข้อห้ามในผู้ป่วยโรคลูปัสที่ตั้งครรภ์ยกเว้นผู้ป่วยมีภาวะแท้งคุกคาม มีเลือดออกขณะตั้งครรภ์, มีเกล็ดเลือดหรือการแข็งตัวของเลือดผิดปกติหรือในช่วงที่มีการก่าเริบของโรค
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อทารก
ทารกน้่าหนักตัวน้อยกว่าเกณฑ์
ทารกหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ทารกคลอดก่อนก่าหนด
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
เกิดโรคลูปัสในทารก
ต่อมารดา
ภาวะความดันโลหิตสูง
ครรภ์เป็นพิษ
เบาหวานขณะตั้งครรภ์
เส้นเลือดอุดตันจากลิ่มเลือด
ไตวาย
ภาวะซีด
ภาวะเกล็ดเลือดต่่า
คลอดก่อนก่าหนด
การคลอด
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ (Urinary Tract Infection)
Asymptomatic bacteriuria : ABU
การวินิจฉัย
ใช้วิธีการเพาะเชื้อของปัสสาวะโดยใช้ปัสสาวะส่วนกลาง (Mid stream urine) ถือว่ามีการติดเชื้อ ถ้าเพาะเชื้อได้แบคทีเรียมากกว่า 100,000 โคโลนีต่อปัสสาวะ 1 มล. ถ้าน้อยกว่า 100,000 มักจะเกิดจากการปนเปื้อน
อุบัติการณ์
ความชุกของ ABU ขณะตั้งครรภ์ พบได้ประมาณร้อยละ 4-7
การรักษาและการพยาบาล
เมื่อผู้ป่วยมาฝากครรภ์ครั้งแรก ให้เก็บปัสสาวะโดยเอาน้่าปัสสาวะช่วงกลางของปัสสาวะ (Mid stream urine)เพื่อนับจ่านวนเม็ดเลือดขาว
รับประทานอาหารให้มีความสมดุลระหว่างโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต ธาตุเหล็ก หลีกเลี่ยงน้่าชา กาแฟเครื่องดื่มที่มี Alcohol เครื่องเทศ
ดื่มน้่ามาก ๆ 2,000-3,000 cc./day
รับประทานวิตามินซีทุกวัน
ดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
แนะน่าการรับประทานยาให้ครบ course ของยา
ท่า Urine culture ถ้าพบว่ายังมี bacteria อยู่ควรให้การรักษา
การป้องกัน
ป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อ ด้วยการดื่มน้่ามาก ๆ อย่างน้อย 6-8 แก้วต่อวัน
ไม่ควรกลั้นปัสสาวะ
รักษาสุขอนามัยทั่วไป
หลีกเลี่ยงความอับชื้น การท่าความสะอาดหลังเข้าห้องน้่าทุกครั้ง
แนวทางรักษา
หากเกิดภาวะกรวยไตอักเสบ ก็ต้องให้ยาทางหลอดเลือด
รักษาตามอาการ
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อก่าจัดเชื้อกรณีที่เป็นเพียงกระเพาะปัสสาวะอักเสบก็ให้เป็นยารับประทานได้
ผลเสียต่อการตั้งครรภ์
ถ้าเกิดภาวะกรวยไตอักเสบ อาจเพิ่มความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ต่อการแท้งบุตรได้
ภาวะแทรกซ้อน
Chronic pyelonephritis
Septic shock
Premature labour
Low birth weight
Hypertension
Anemia
ปัจจัยเสี่ยง
มีประวัติติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
มีประวัติได้รับการสวนปัสสาวะ
Renal anormalies
เบาหวาน
โลหิตจาง
โรคติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะที่มีอาการแสดง (Symtomatic bacteriuria)
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน
การวินิจฉัยแยกโรค
ผู้ป่วยที่มาด้วยอาการปวดท้องอาจต้องแยกจากการเจ็บครรภ์ ไส้ติ่งอักเสบ รกลอกตัวก่อนก่าหนด การเสื่อมสภาพของกล้ามเนื้อมดลูก (Myoma)
ในระยะหลังคลอดต้องแยกจากการติดเชื้อหลังคลอดด้วย
การรักษาและการพยาบาล
ต้องรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล สวนปัสสาวะเพื่อส่งตรวจวิเคราะห์ เพาะเชื้อ เจาะเลือดตรวจนับเม็ดเลือด ครีอะตินิน และ อีเลคโตรไลท์
แนะน่าให้ดื่มน้่าให้เพียงพอให้สารน้่าทางหลอดเลือดด่า และท่า Intake output
แนะน่าให้นอนพักบนเตียงในท่าตะแคงซ้าย
ให้ได้รับยาแก้ปวด
ให้Antibiotic Ampicillin 1-2 กรัม IV ทุก 6 ชั่วโมง ร่วมกับ gentamicin 1 มก./กก. ทุก 8 ชั่วโมง หรือCeftriazone 1-2 กรัม IV ทุก 24 ชั่วโมง หรือ Trimethoprin – sulfamethoxazole 160/800 มก. IV ทุก 12 ชั่วโมง หรือ Aztreonam 1 กรัม IV ทุก 8 ชั่วโมง หรือ Cefazolin 1-2 กรัม IV ทุก 8 ชั่วโมง ทันที โดยให้ไปก่อน แล้วปรับตามผล Culture and sensitivity
ตรวจวัดสัญญาณชีพของแม่ และฟังเสียงหัวใจเด็ก (Fetal heart sound) บ่อย ๆ
ถ้าให้การรักษา 12 ชั่วโมง แล้วไม่ได้ผล ท่าให้ ultrasound หรือ x-ray
หลังจากคลอด 12 สัปดาห์ ควรมีการตรวจซ้่าเพื่อดูความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
neutrophil สูง
ตรวจเลือดมักมีจ่านวนเม็ดเลือดขาวขึ้นสูง
ตรวจปัสสาวะจะพบมีเม็ดเลือดขาวมักจะติดกันเป็นกระจุก
การเพาะเชื้อจากปัสสาวะได้แบคทีเรีย E. coli
อาการและอาการแสดง
คลื่นไส้และอาเจียน
อาจมีอาการช็อกจากการติดเชื้อ
มีไข้ หนาวสั่น และปวดบริเวณบั้นเอวข้างเดียว หรือสองข้าง
กดเจ็บบริเวณ costovertebral angles
เป็นภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรมที่พบบ่อยที่สุดในระยะตั้งครรภ์
ท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ลักษณะส่าคัญของกระเพาะปัสสาวะอักเสบ คือมีอาการปวดเวลาถ่ายปัสสาวะ, ปัสสาวะจะมีเม็ดเลือดขาว แบคทีเรีย เม็ดเลือดแดงก็พบร่วมด้วยได้, อาจมีการลุกลามขึ้นไปท่าให้ไตอักเสบได้, ส่วนมากจะพบกับหญิงตั้งครรภ์ในไตรมาสที่สอง
การวินิจฉัย
Acute cystitis สามารถวินิจฉัยได้โดยดูจ่านวนเม็ดเลือดขาว bacteria และเม็ดเลือดเลือดแดงในน้่าปัสสาวะ ผล culture และ sensitivities มักพบ E.coli เป็นส่วนใหญ่
การรักษาและการพยาบาล
แนะน่าให้ดื่มน้่ามาก ๆ วันละ 2,000 – 3,000 มล.
แนะน่าเกี่ยวกับการท่าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
แนะน่าการรับประทานอาหารครบทุกหมู่และได้สัดส่วน
แนะน่าไม่ให้กลั้นปัสสาวะ
แนะน่าไม่ให้สวมกางเกงในรัดรูปหรือคับเกินไป
ให้การรักษาโดยให้รับประทานยาปฏิชีวนะ
Acute Glomerulonephritis
เกิดขึ้นน้อยมากในระยะตั้งครรภ์ การวินิจฉัยจะง่ายขึ้น ถ้าได้ประวัติการติดเชื้อ streptococcus น่ามาก่อน 2-3 สัปดาห์ และถ้าตรวจปัสสาวะพบ red cell casts ร่วมกับ Titerantisteptolysis ขึ้นสูง จะช่วยสนับสนุนการวินิจฉัย ถ้าเกิด Acute Glomerulonephritis ในไตรมาสสุดท้ายของการตั้งครรภ์จะท่าให้การวินิจฉัยแยกโรคจาก pre-eclampsia ค่อนข้างยาก
การรักษาและการพยาบาล
เนื่องจากอาการและอาการแสดงของโรค มักเป็นอยู่นานเพียงสองสัปดาห์ จึงควรให้การรักษาแบบประคับประคอง
อัตราการตายจากโรคนี้ของสตรีที่ไม่ตั้งครรภ์ ต่่ากว่า ร้อยละ 5 สาเหตุการตายมักมาจากหัวใจวาย หรือไตล้มเหลว ผู้ป่วยบางคนจะไม่หายแต่จะค่อย ๆ กลายเป็นเรื้อรัง
การรักษาไม่แตกต่างจากหญิงที่ไม่ตั้งครรภ์
สตรีที่มีประวัติเคยเป็น AGN และหายเป็นปกติดีแล้ว ถ้ามีการตั้งครรภ์ตามมา จะไม่เพิ่มอัตราของภาวะแทรกซ้อนขึ้น
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
การรักษาและการพยาบาล
ขึ้นอยู่กับอาการและอายุครรภ์ ถ้ามีอาการมากโดยเฉพาะเป็นอาการของการอุดตันจากนิ่วจ่าเป็นต้องให้การผ่าตัด เอานิ่วออก ไม่ว่าการตั้งครรภ์จะมีอายุเท่าใดอย่างไรก็ตามก็ผ่าตัดในระหว่างครึ่งหลังของการตั้งครรภ์ ซึ่งจะมีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงไตและท่อปัสสาวะค่อนข้างขยายใหญ่ และการเปิดพื้นที่ท่อปัสสาวะส่วนล่างท่าค่อนข้างล่าบากเพราะมดลูกบังอยู่จึงไม่ควรผ่าตัดในระยะนี้ถ้าไม่จ่าเป็น ในการประคับประคองไปก่อนนั้นให้รักษาตามอาการ เช่นยาแก้ปวดและให้น้่าอย่างเพียงพอยาแก้ปวดและให้น้่าอย่างเพียงพอ
ถ้าการทำงานของไตยังปกติอยู่นิ่วในทางเดินปัสสาวะ (Renal calculi) มักจะไม่มีผลกระทบรุนแรงต่อการตั้งครรภ์