Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4.4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช…
บทที่4.4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช ภาวะออทิซึมสเปกตรัม
ภาวะออทิซึมสเปกตรัม
กลุ่มโรคที่มีความผิดปกติของพัฒนาการทางระบบประสาท
ที่มีความบกพร่องของพัฒนาการทางสังคม การสื่อสาร และพฤติกรรมหรือ ความสนใจซ้ำๆ อย่างไม่เหมาะสม
สังเกตเห็นในช่วง 2 ปีแรกของพัฒนาการ
ลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะออทซิึมสเปกตรัม
1) มีความบกพร่องด้านการสื่อสารและด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในหลายบริบท
มีความบกพร่องในการสร้าง รักษา และเข้าใจในสัมพันธภาพ
มีความบกพร่องด้านการสื่อสาร
2) มีแบบแผนพฤติกรรม ความสนใจ หรือกิจกรรมที่จำกัดซ้ำๆ
ยึดติดกับสิ่งเดิม กิจวัตรประจำวันเดิม หรือแบบแผนการสื่อสารเดิมๆ ซ้ำๆ
มีความสนใจที่จำกัดในขอบเขตที่จำกัดหรือเฉพาะเจาะจง หมกหมุ่นกับสิ่งหนึ่งสิ่งใด
มีการแสดงกิริยาบางอย่างซ้ำ (mannerism) เช่น การสะบัดมือ การหมุนตัว การหมุน ต้นคอ การโยกตัว ใช้วัตถุให้มีการเคลื่อนไหวซ้ำๆ
มีการตอบสนองต่อการรับสัมผัสสิ่งเร้าที่เข้ามากระตุ้น
สาเหตุของของภาวะออทิซึมสเปกตรัม
2) ปัจจัยทางสมอง
3) ปัจจัยในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
1) ปัจจัยทางพันธุกรรม
การบำบัดรักษาภาวะออทิซึมสเปกตรัม
1) การรักษาทางยา
ยา methylphenidate ที่ใช้บรรเทาอาการขาดสมาธิ
ยา haloperidol กับ risperidone ที่ใช้บรรเทาอาการหงุดหงิด
ยา fluoxetine ที่ใช้บรรเทาอาการซึมเศร้า ลดพฤติกรรมซ้ำๆ
ยา lorazepam ที่ใช้บรรเทาอาการวิตกกังวล
2) พัฒนาทักษะด้านการสื่อสาร
3) พัฒนาด้านทักษะทางสังคม
4) พฤติกรรมบำบัด
5) การบำบัดทางความคิด และพฤติกรรม
6) ศิลปะบำบัด
7) ดนตรีบำบัด
8) การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการศึกษา
9) การให้คำแนะนำครอบครัว
10) การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ
. การพยาบาลเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม
1) การประเมินสภาพ
การซักประวัติ เป็นการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอาการสำคัญ
การประเมินทางร่างกาย
การประเมินพัฒนาการ
การสังเกตพฤติกรรม โดยเฉพาะการเล่นของเด็ก
การใช้แบบคัดกรองพัฒนาการตามช่วงวัย
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีพฤติกรรมก้าวร้าว เนื่องจากขาดความสามารถในการควบคุมตนเอง
มีความบกพร่องด้านการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น เนื่องจากมีพฤติกรรมแยกตัว
เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ เนื่องจากมีพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง
4) การประเมินผลทางการพยาบาล
เป็นไปดามเป้าหมายที่วางแผนไว้และสามารถแก้ไขปัญหาได้หรือไม่
ถ้ายังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ พยาบาลจะต้องนำผลที่ประเมินได้มาปรับ แผนการพยาบาล
3) การวางแผนและการปฏิบัติทางการพยาบาล
1) การพยาบาลช่วยเหลือด้านเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม
ฝึกทักษะการสื่อความหมาย
ฝึกทักษะทางสังคม
การฝึกกิจวัตรประจำวัน
แก้ไขพฤติกรรมที่ไม่หมาะสม
2) การพยาบาลช่วยเหลือครอบครัวเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม
ช่วยลดความวิตกกังวลของพ่อแม่ ด้วยการให้ความช่วยเหลือปัญหาที่พ่อแม่ต้อง เผชิญ การให้คำแนะนำในการดูแลลูกซึ่งจะต้องสมารถนำไปปฏิบัติได้จริง มีความชัดเจนและมีเหตุผล
ช่วยลดความรสู้ึผิดหรือกล่าวโทษกันของพ่อแม่ ด้วยการให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ใหพ้่อแม่ เห็นความสำคญัของการร่วมมือกันในการดูแลลูก การมีอารมณ์ขัน และอดทน
แสดงความเข้าใจยอมรบัความรู้สกึของพอ่แม่ที่มลีูกที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม