Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพกลุ่มัวยเรียน - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพกลุ่มัวยเรียน
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
คุณลักษณะ
1.ส่งเสริมสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ด้านการศึกษาและสาธารณะสุข ครู สหภาพครู นักเรียน ผู้ปกครองและผู้นำชุมชน มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพร่วมกัน
2.ใช้ความพยายามในการจัดให้มีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพและความปลอดภัย
ขั้นตอนสู่โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
สร้างความสนับสนุนของชุมชนและท้องถิ่นเพื่อให้เกิดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ุ
จัดตั้งคณะกรรมการส่งเสริมสขภาพของโรงเรียน
จัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา
วิเคราะห์สถานการณ
กำหนดจุดเริ่มต้นในการทำงาน
จัดทำแผนปฏิบัติการ
ติดตามและประเมินผล
พัฒนาเครือข่ายระดับท้องถิ่น
แนวคิด
นรำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ดูแลเอาใจใส่สุขภาพของตนเองและผู้อื่น
ตัดสินใจและควบคุมสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
องค์ประกอบ
นโยบายส่งเสริมสุขภาพ (School Policies)
การบริหารจัดการในโรงเรียน (School Management Practices)
โครงการร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน (School / Community Projects)
การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ (Health School Environment)
บริการอนามัยโรงเรียน (School Health Services)
สุขศกษาในโรงเร ึ ียน (School Health Education)
โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย (Nutrition/Food Safety)
การออกกําลังกาย กีฬา นันทนาการ (Physical Exercise, Sport, Recreation)
การให้คําปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม (Counseling/Social Support)
การส่งเสรมส ิ ุขภาพบุคลากรในโรงเรียน (Health Promotion for Staff)
ปัญหาสุขภาพกลุ่มวัยเรียน
พฤติกรรม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
พฤติกรรมการออกกำลังกาย
พฤติกรรมการผ่อนคลาย
ปัญหาสุขภาพ
1.ปัญหาโภชนาการ
2.โรคผิวหนัง
3.โรคติดเชื้อ
4.ปัญหาสุขภาพช่องปาก
5.ความผิดปกติของสายตา
6.อุบัติเหตุและการบาดเจ็บ
7.การใช้สารเสพติด
8.ปัญหาด้านจิตใจ อารมณ์ และพฤติกรรม
9.ปัญหาอื่นๆ เช่น ปัญหาเด็กติดเกมส์
ปัจจัยที่มีอิทธิพล
ด้านเด็ก
วัย
พันธุกรรม
เพศ
พฤติกรรมสุขภาพ
ด้านครอบครัว
การอบรมเลี้ยงดู
พฤติกรรมสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว
สัมพันธภาพและบรรยากาศของครอบครัว
ระดับการศึกษา และฐานะทางเศรษฐกิจ
ด้านสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพและชีวภาพ
สิ่งแวดล้อมด้านสังคม
ด้านระบบบริการสุขภาพ
บทบาทพยาบาล
การสร้างเสริมสุขภาพ
2.การให้ความรู้เรื่องการตรวจสุขภาพนักเรียนแก่ครู
3.ลงบันทึกบัตรสุขภาพนักเรียน
1.การตรวจสุขภาพนักเรียน
4.การส่งเสริมการออกกำลังกาย
การป้องกันโรค
2.การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
1.การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การรักษาพยาบาลนักเรียนที่เจ็บป่วย
การฟื้นฟูสภาพนักเรียน
อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
1.สถานที่ตั้ง
ควรเป็นสถานที่ในย่านกลางเมืองที่มีการคมนาคมสะดวก ไม่ควรห่างจากย่านชุมชนเกินกว่า 2 กิโลเมตร มี
เนื้อที่ไม่น้อยกว่า 2 ไร่ หรือตามหลักเกณฑท์ ี่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
2.อาคารเรียน
ควรสร้างอาคารเรียนให้พอเหมาะกับจำนวนนักเรียน
3.พื้นที่ใช้สอยและอุปกรณ์เครื่องใช้
3.1ห้องเรียนและเครื่องใช้ในห้องเรียน
ขนาดของห้องเรียนควรเป็น 6 X 8 เมตร หรือ 7 X 8 เมตร บรรจุนักเรียนได้ 30 - 40 คน อัตรา
เฉลี่ยเนื้อที่ภายในห้องเรียนควรเป็น 1.50 - 2.00 ตารางเมตรต่อนักเรียน 1 คน มแสงสว ี ่างพอเหมาะ
3.2การจัดโต๊ะเรียนและเก้าอี้
มีทางเดินระหว่างแถวของโต๊ะเรียน ไม่น้อยกว่า 45 ซม.
แถวริมสุดห่างจากผนังห้อง ไม่น้อยกว่า 60 ซม.
แถวหน้าห่างจากกระดานดำ ไม่น้อยกว่า 2 ม.
โต๊ะเรียนแถวหลังสุดห่างจากกระดานดำ ไม่เกิน 9 ม.
4.การระบายอากาศ แสงสว่างและเสียง
7.การจัดการน้ำเสีย
6.การจัดการขยะ
น้ำดื่ม - นำใช้
8.การควบคุมและกำจัดแมลง สัตว์พาหะนำโรค
9.สภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในโรงเรียน