Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหู - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหู
การตรวจวินิจฉัย
การซักประวัติผู้ป่วย
อาการหลัก
หูอื้อ ได้ยินเสียงลดลง
มีเสียงดังในหู มีของเหลวไหลออกจากหู
อาการเวียนศีรษะ อาการปวดหู
การตรวจร่างกาย
ตรวจหูภายนอก
ตรวจช่องหู
ตรวจด้วยไม้พันสําลี ทั้งส่วนกระดูกและกระดูกอ่อน
ตรวจดูเยื่อแก้วหู
ตรวจหูไม่พบความผิดปกติ ให้ตรวจศีรษะและคอ
การตรวจพิเศษอื่นๆ
ภาพถ่ายรังสี CT scan
การนัดตรวจซ้ำเป็นระยะ
การตรวจพิเศษด้วยเครื่องมือ
การทดสอบการได้ยิน
Tuning fork test ( ตรวจโดยใช้ส้อมเสียง )
Audiometry ( เครื้องตรวจการได้ยินชนิดไฟฟ้า )
การตรวจโดยใช้คําพูด
Speech Reception Threshold (SRT)
Speech Discrimination
การตรวจ Vestibular Function Test
Romberg's Test
ยืนตรง ส้นเท้าปลายเท้าชิดกัน มองตรงไปข้างหน้า
Unterberger's Test
ทำเหมือน Romberg's Testแต่ยื่นมือตรงไปข้างหน้า หลับตา ย่ำซอยเท้ากับที่
Gait Test
เดินตามแนวเส้นตรงระหว่างจุด 2 จุด แล้วหมุนตัวเร็วๆกลับที่เดิม
ตรวจดู Nystagmus
ตรวจอาการตากระตุก โดยการทํา Head Shaking
โรคหูชั้นกลาง
การผ่าตัดหู
ประเภทของการผ่าตัด
ประเภทของการผ่าตัดTympano Mastoidectomy
การผ่าตัดเปิดเข้าไปในหูชั้นกลาง เพื่อดูว่าทําอะไรต่อ
การผ่าตัดเอา Mastoid air cell ออก
การผ่าตัด Stapes bone และ Footplate ออก
การตกแต่งหูชั้นกลาง และตกแต่งกระดูกหู
การผ่าตัดบริเวณหูชั้นกลาง เพื่อลดการกดของ facial nerve
การผ่าตัดตกแต่งแก้วหู ปะเยื่อแก้วหู
การผ่าตัดซ่อมแซมกระดูกหูในช่องหูชั้นกลาง
การพยาบาล
หลังการผ่าตัด
หลังการผ่าตัดในรายที่ทําการผ่าตัด(Stapedectomy) ห้ามก้มมาก ๆ
ติดตามประเมินภาวะปากเบี้ยว ตาปิดไม่สนิท ชาที่หน้า
ถ้าไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียนให้เริ่มรับประทานอาหารอ่อนได้ แต่ให้เคี้ยวด้านตรงข้ามกับทีผ่าตัด
ถ้ามีอาการเวียนศีรษะให้นอนพัก และระวังอุบัติเหตุขณะเคลื่อนไหว
ถ้ามีอาการเวียนศีษะให้นอนพักและระวังอุบัติเหตุขณะเคลื่อนไหว
นอนราบตะแคงข้างทีไม่ผ่าตัด ถ้าไม่อาเจียนให้หมุนหมอนได้
ห้ามการออกแรงยกของหนักมาก ๆ นาน 2 สัปดาห์
จำหน่ายกลับบ้าน
เวลาไอและจามควรเปิดปากทุกครั้ง หลังผ่าตัด 2-3 สัปดาห์
ห้ามสั่งน้ำมูก 2 - 3 สัปดาห์หลังผ่าตัด
ห้ามทํางานใช้แรงในการยกของที่หนักเกิน
ดูแลอย่าให้น้ำเข้าหู หลีกเลี่ยงการสระผม 2 - 3 วัน
โรคหินปูนเกาะฐานกระดูกโกลน (Otosclerosis)
พยาธิสภาพ
การเพิ่มของ osteoblastic และ osteoclasvtic activity บริเวณ stapes footplate ทําให้เกิด otosclerosis
การรักษา
ใช้เครื่องช่วยฟัง สําหรับสูญเสียการฟังไม่มาก
นํากระดูกหูที่มีพยาธิสภาพออกและใส่วัสดุเทียมเข้าไปแทน
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ เวียนศีรษะบ้านหมุน มีเสียงดังในหู หรือ สูญเสียการได้ยินแบบ CH
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิด Measle virus
โรคหูน้ำหนวก (OTITIS MEDIA)
ภาวะที่มีการขังค้างของของเหลวอยู่ในหูชั้นกลาง
แบ่งเป็นชนิดต่างๆ ได้แก่
Serous Otitis Media
Chronic Otitis Media
Acute Otitis Media
Adhesive Otitis Media
อาการ
เหมือนมีน้ำขังอยู่ในหูตลอดเวลา
สูญเสียการได้ยิน หรือมีอาการหูอื้อ เวลาพูดเสียงดังจะรู้สึกก้องในหู
เยื่อแก้วหูมีลักษณะโป่งนูนและปวดหูร่วมด้วย
การรักษา
ทํา Valsava Maneuver และ Politzerisation เพื่อปรับความดันของหูชั้นกลาง
ห้ามแคะหู ห้ามน้ำเข้าหู ถ้ามีหนองไหลใช้สําลีสะอาดเช็ด
การบาดเจ็บจากแรงดันหู (Otitic barotrama)
สาเหตุ
จากผลการเปลี่ยนแปลงความดันอากาศหรือความดันในหูชั้นกลางและโพรงกกหู
อาการและอาการแสดง
ปวดหู แน่นหู มีประวัติขึ้นเครื่องบิน
พยาธิสภาพ
ความดันหูชั้นกลางต่างจากบรรยากาศภายนอก เยื่อเมือกจะบวม มีการสร้างของเหลวจากต่อมเมือก เกิดของเหลวหรือเลือดคั่งในหูชั้นกลาง
การรักษา
การป้องกันเป็นสิ่งสําคัญกว่าการรักษา
โรคหูชั้นใน
โรคหินปูนในหูชั้นในหลุด (BPPV)
เป็นโรคที่พบตะกอนแคลเซียมสะสมบริเวณอวัยวะทรงตัวในหูชั้นใน ทําให้เกิดบ้านหมุนขึ้น และตรวจพบตากระตุก
สาเหตุ
อุบัติเหตุโดยเฉพาะการบาดเจ็บ
โรคหูชั้นใน
ความเสื่อมตามวัย
อาการ
อาการเวียนศีรษะบ้านหมุน รู้สึกโคลงเคลง
สูญเสียการทรงตัว
การรักษา
ยา
ให้ยาบรรเทาอาการเวียนศีรษะ
กายภาพบำบัด
ขยับศีรษะและคอ เพื่อเคลื่อนตะกอนหินปูนออกจากอวัยวะควบคุมการทรงตัว
การผ่าตัด
มักทําในกรณีที่ผู้ปวยรักษาด้วยยาและทํากายภาพไม่ได้ผล
การป้องกัน
ตอนตืนนอนตอนเช้า ควรลุกจากเตียงช้าๆ หลีกเลี่ยงการก้มเก็บสิ่งของ หรือเงยหยิบสิ่งของทีอยู่สูง
หลีกเลี่ยงการการนอนทีเอาหูด้านทีกระตุ้นให้เกิดอาการลง
เวลาทําอะไรควรทําอย่างช้า ๆ ทําอะไรค่อยๆ
เวลานอนควรนอนหนุนหมอนสูง
โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน (Meniere's disease)
อาการ
คลื่นไส้อาเจียน มีเสียงดังในหู
เหงื่อออกร่วมด้วย
ประสาทหูเสื่อม
อาการเวียนศีรษะ บ้านหมุน
การรักษา
การกินยาขยายหลอดเลือด ฮิสตามีน
จํากัดความเค็ม
ถ้าอาการดีขึ้นแล้วควรออกกําลังกายสม่ำเสมอ เพิ่มเลือดไปเลี้ยงที่หู
หลีกเลี่ยงชา คาเฟอีน บุหรี่ ความเครียด
อาการ
เวียนศีรษะ
การวินิจฉัยการพยาบาล
วิตกกังวล จากเสียงดังอื้อในหู
เสี่ยงอันตรายจากอุบัติเหตุ
นอนพักผ่อนไม่เพียงพอ ขาดความรู้ในการปฎิบัติตน
การพยาบาล
ให้คําแนะนําในการดําเนินชีวิตกับผู้ป่วย
ขณะวิงเวียนศีรษะควรนอนพักนิ่งๆบนเตียง (Bed rest)
การประเมินภาวะต่างๆ
ให้คําแนะผู้ป่วยเรื่องการเคลื่อนไหว
การจัดสิ่งแวดล้อมต่างๆ ควรให้เหมาะสมและให้ผู้ปวยได้พักผ่อนมากขึ้น
ไม่ควรทํางานหนักเกินไป ไม่เดินทางไปในที่ๆอาจเกิดอันตราย เช่น การขึ้นที่สูง การดําน้ำ
ประสาทหูเสือมฉับพลัน
สาเหตุ
สาเหตุการอุดตันของเลือดไปเลี้ยงทีหูชั้นใน
การรั่วของของน้ำในหูชั้นใน เข้าไปในหูชั้นกลาง
การติดเชื้อไวรัส
การบาดเจ็บ
การรักษา
การนอนพัก นอนศีรษะสูง 30 องศาจากพื้นราบ
ยาลดอาการเวียนศีรษะ (ถ้ามีอาการ)
ยาวิตามิน บํารุงประสาทหูทีเสื่อม
ไม่ควรทํางานหนักหรือออกกําลังกายหักโหม 1 – 2 สัปดาห์
หลีกเลี่ยงเสียงดัง
ยาขยายหลอดเลือด
ถ้าเป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ซีด ต้องควบคุมอาการให้ดี
หลีกเลี่ยงยาที่มีพิษต่อหู
หลีกเลี่ยงอุบัติเหตุ หรือการกระทบกระเทือนที่หู
หลีกเลียงการติดเชื้อทีหู ลดอาหารเค็ม หรือเครืองดื่มที่มีการกระตุ้นระบบประสาท
อาการและอาการแสดง
การได้ยินลดลงในหูข้างใดข้างหนึ่งอย่างฉับพลัน หูอื้อ บางรายอาจมีอาการเวียนศีรษะร่วมด้วย
หูตึงจากสูงอายุ
การรักษา
การใช้เครื่องช่วยฟัง
จํากัดแคลอรี ลดปริมารไขมันในร่างกาย
อาการและอาการแสดง
การได้ยินลดลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปทั้งสองข้างมีเสียงดังในหูร่วมด้วย
สาเหตุ
อายุทีเพิ่มมากขึ้น
การได้รับเสียงดัง
การใช้ยา
โรคหูชั้นนอก
หูชั้นนอกอักเสบ
สาเหตุ
เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย หรือผื่นคันบางชนิด
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดหู หูเป็นน้ำเยิ้ม คล้ายหูแฉะ
มีอาการบวมแดงของรูหูและใบหู
การรักษา
ทําความสะอาดหู ดูดหนอง หรือขี้หูออก แล้วเช็ดด้วยยาปฏิชีวนะหรือยาเพิ่มความเป็นกรดในรูหู
เยื่อแก้วหูฉีกขาดเป็นรูทะลุ
การรักษา
ทิ้งไว้เฉยๆ อย่าชะล้าง ไม่ต้องเอาลิ่มเลือดออก ไม่ต้องหยอดยาหู แต่ให้ยาทานป้องกันการติดเชื้อ ไม่ต้องทําความสะอาดภายในช่องหู
อาการและอาการแสดง
เจ็บปวดเฉียบพลันสูญเสียการได้ยิน มีเลือดไหลออกมาจากหู จากการฉีกขาดเยือแก้วหู
สาเหตุ
เกิดจากของมีคม เช่น กิ๊บติดหู ที่แคะหูแบบเหล็ก
ขี้หูอุดตัน
สาเหตุ
บางครั้งเกิดปัญหาขี้หูอุดตัน ในส่วนของช่องหูชั้นนอก
พยาธิสภาพ
ส่วนมากเกิดจากขี้หูสร้างมากผิดปกติ Epithelial migration ลดลง
การรักษา
รักษาโดยการล้าง หรือใช้เครืองดูดหรือการใช้เครื่องมืออื่น ๆ ช่วย
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ ปวดหู
สิ่งแปลกปลอมในหูชั้นนอก
สาเหตุ
ในเด็ก มักพบของเล่น ลูกปัด เมล็ดผลไม้ต่างๆ
ในผู้ใหญ่ มักพบเป็นเศษชิ้นส่วนของไม้พันสําลีหรือพวกแมลง
การรักษา
สิ่งมีชีวิต
ใช้แอลกฮอล์70% หรือยาหยดประเภทน้ำมันหยอดลงไป แล้วคีบออก
สิ่งไม่มีชีวิต
ใช้น้ำสะอาดหรือเกลือปราศจากเชื้อหยอดจนเต็มหูแล้วเทน้ำออกหรือใช้ที่ล้างหูช่วย
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ รําคาญ สูญเสียการได้ยิน
การสูญเสียการได้ยิน ( HEARING LOSS )
ภาวะที่มีความบกพร่องในกลไกของการได้ยิน พบได้ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยชรา
ประเภทของการสูญเสียการได้ยิน
การสูญเสียการได้ยินแบบประสาทหูเสื่อม
การรับฟังเสียงบกพร่องแบบผสม
การสูญเสียการได้ยินแบบการนําเสียงทางอากาศบกพร่อง
ความบกพร่องที่สมองส่วนกลาง
สาเหตุ
การนําเสียงทางอากาศบกพร่อง (Conductive Hearing Loss; CHL)
ประสาทหูเสื่อม (Sensorineural Hearing Loss; SNHL)
ประสาทหูเสื่อมที่เป็นตั้งแต่กําเนิด
ประสาทหูเสื่อมที่เกิดภายหลัง
Presbycusis พบในคนชรา
Noise induced hearing loss เกิดจากเสียงดังมาก
Infection ติดเชื้อจากหูชั้นใน น้ำไขสันหลัง การติดเชื้อหูชั้นกลาง
Trauma อุบัติเหตุ
Tumor