Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 พัฒนาเจตคติที่มีต่อตนเองและผู้อื่น - Coggle Diagram
บทที่ 5 พัฒนาเจตคติที่มีต่อตนเองและผู้อื่น
เจตคติ
ความรู้สึก ความเชื่อ และแนวโน้มของพฤติกรรมของบุคคลที่มีต่อบุคคล หรือสิ่งของ หรือความคิดใดก็ตาม ในลักษะการประเมินค่า
องค์ประกอบของเจตคติ
องค์ประกอบเกี่ยวกับการเรียนรู้
บุคคลที่มีเจตคติต่อสิ่งนั้น บุคคลจึงต้องมีความรู้ในสิ่งนั้นว่ามีประโยชน์หรือโทษ ปริมาณของการรู้สิ่งใด แล้วเกิดเจตคติในแต่ละบุคคลไม่เหมือนกัน
องค์ประกอบเกี่ยวกับความรู้สึก
บุคคลมีความรู้ในสิ่งใดมาแล้ว และ ความรู้นั้นมีมากพอที่จะรู้ว่าสิ่งนั้นดีมีประโยชน์ บุคคลกจะเกิดความรู้สึกชอบสิ่งนั้น แต่ถ้ารู้ว่าสิ่งนั้นไม่ดี บุคคลก็จะเกิดความรู้สึกไม่ชอบ
องค์ประกอบทางการกระทำ
บุคคลมีความรู้ในสิ่งนั้นแล้ว และความรู้สึกชอบ หรือ ไม่ชอบจะเกิดตามา บุคคลก็พร้อมที่จะกระทำอย่างไรอย่างหนึ่งลงไป
การเกิดเจตคติ
ประสบการณ์เฉพาะอย่าง
เป็นประสบการณืที่บุคคลได้พบกับเหตุการ์นั้นด้วยตนเอง
การติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่น
ในชีวิตประจำวัน คนเราต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นในสังคมอยู่แล้ว จากการเกี่ยวข้องกันทำให้เรารับเอาเจตคติหลายๆอย่างเข้าไว้โดยไม่ตั้งใจ
รูปแบบ
บ่อยครั้งที่เจตคติของเราพัฒนาขึ้นมาจากการเลียนรูปแบบ
องค์ประกอบของสถาบัน
โรงเรียน วัด ครอบครัว หน่วยงาน สมาคม สถาบันเหล่านี้มีส่วนในการสร้างเจตคติให้แก่บุคคลได้อย่างมากมาย
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเกิดเจตคติ
การเกิดเจตคติจากการเรียนรู้แบบคลาสสิคหรือการเรียนแบบโยงสัมพันธ์
การเกิดเจตคติเพราะหลักการเรียนรู้จากผลกรรม
การเกิดเจตคติจากการเรียนรู้โดยการสังเกตจากตัวแบบ
การเปลี่ยนแปลงเจตคติ
แนวคิดการเปลี่ยนเจตคติโดยใช้การสื่อความหมาย
กระบวนการเปลี่ยนแปลงเจตคติ
การแสดงความสนใจ
ขั้นตอนนี้ ผู้โฆษณาจะต้องพยายามเรียกร้องความสนใจจากตัวบุคคลให้ได้เพื่อให้เขาพร้อมที่เข้าสู่ขั้นตอนต่อไป
การทำความเข้าใจ
เมื่อตัวบุคคลเริ่มให้ความสนใจกับงานโฆษณาแล้ว ผู้โฆษณาจะต้องดำนเนิต่อไป เพื่อให้บัคคลเกิดความพยายามเข้าใจเนื้อหาของโฆษณานั้นๆ
การยอมรับ
หากโฆษณานั้น มีความสอดคล้องต่อความคิดของตัวบุคคลหรือสามารถตอบสนองความต้องการของบุคคลได้ ก็จะเกิดการยอมรับขึ้นมา
การจดจำ
ในขั้นตอนสุดท้าย คือ การพยายามทำให้ชื่อผลิตภัณฑ์ หรือ แบรนด์ เป็นที่จดจำของผู้คน
ทฤษฎีสมดุล
ไฮเดอร์
มนุษยืทุกคนชอบความสัมพันธ์ระหว่างกันที่อยู่สภาวะสมดุล มั่นคง และ สงบ
P
บุคคลคนหนึ่ง (อาจเป็นตัวเราเอง)
O
บุคคลอีกคนหนึ่ง (อาจเป็นเพื่อนเรา)
X
วัตถุหรือสิ่งของ (อาจเป็นซีรีย์วาย)
ทฤษฎีการจัดการความประทับใจ
บุคคลจะเกิดความเครียดขึ้นในใจเมื่อเขาแสดง พฤติกรรมภายนอกออกไปตรงกันข้ามกับเจตคติที่เขามีอยู่
ทฤษฎีต่อต้านทางจิตใจ
การข่มขู่เพื่อจำกัดหรือกำจัดเสรีภาพในการแสดงออกตามความต้องการของบุคคลเป็นตัวเร่งให้เกิดแรงจูงใจที่เรียกว่า "แรงต่อต้านทางจิตใจ" เพื่อที่จะรักษาหรือนำพฤติกรรมและเจตคติที่ถูกจำกัดในการแสดงออกนั้นกลับคืนมา
ทฤษฎีการรับรู้ตนเอง
บุคคลไม่มั่นใจว่าตนเองมีเจตคติต่อสิ่งใดอย่างชัดเจนบุคคลจะพยายามเรียนรู้เจตคติของตนเอง จากการสังเกตพฤติกรรมของตนเองและสิ่งเร้าที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม
การเปลี่ยนแปลงเจคติโดยการเกลี้ยกล่อมตนเอง
การเปิดโอกาสให้พูดหรือแสดงออกไปในทิศทางที่พึงประสงค์ด้วย การคิดหาเหตุผลประกอบด้วนตนเอง ก็จะทำให้เกิดการเปลี่ยนเจตคติไปในทิศทางที่พึงประสงค์