Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเบาหวาน(Diabetes Mellitus : DM), (สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย,2560),…
โรคเบาหวาน(Diabetes Mellitus : DM)
ความหมาย
เป็นภาวะที่ร่างกายมีน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องจากการขาดฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) หรือการดื้อต่อฮอร์โมนอินซูลิน ส่งผลให้กระบวนการดูดซึมน้ำตาลในเลือดให้เป็นพลังงานของเซลล์ในร่างกายมีความผิดปกติหรือทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ จนเกิดน้ำตาลสะสมในเลือดปริมาณมาก หากปล่อยให้ร่างกายอยู่ในสภาวะนี้เป็นเวลานานจะทำให้อวัยวะต่าง ๆ เสื่อม เกิดโรคและอาการแทรกซ้อนขึ้น
ชนิดของโรคเบหวาน
type 1 diabetes mellitus
เป็นผลจากการทำลายเบต้าเซลล์ที่ตับอ่อนจากภูมิคุ้มกันของร่างกาย
พบในคนอายุน้อย รูปร่างไม่อ้วน
มีอาการปัสสาวะมาก กระหายน้ำ ดื่มน้ำมาก อ่อนเพลีย น้ำหนักลด
พบภาวะเลือดเป็นกรดจากสารคีโตน (ketoacidosis)
type 2 diabetes mellitus
มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน (insulin resistance) ร่วมกับความบกพร่องในการผลิตอินซูลิน
gestational diabetes mellitus
มีภาวะดื้อต่ออินซูลินมากขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์ จากปัจจัยจาก
รก หรือ อื่นๆ และตับอ่อนของมารดาไม่สามารถผลิตอินซูลินให้เพียงพอกับความต้องการได้
specific type of diabetes due to other cause
มีสาเหตุชัดเจน
กความผิดปกติทางพันธุกรรมเ
เกิดจากโรคที่ตับอ่อน
เกิดจากโรคติดเชื้อ
เกิดจากยาหรือสารเคมีบางชนิด
การรักษา
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การควบคุมอาหาร
ได้รับคาร์โบไฮเดรตจากผัก ธัญพืช ถั่ว ผลไม้ และนมจืดไขมันต่ำ
ผู้เป็นเบาหวานและมีการตั้งครรภ์ ควรกินอาหารให้ได้พลังงานเพียงพอ เพื่อให้น้ำหนักตัวตลอดการตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ดัชนีมวลกายก่อนตั้งครรภ์
หลีกเลี่ยง/จำกัดเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบ
ควบคุมน้ำหนัก
การออกกำลังกาย
ออกกำลังกายเป็นประจำในแบบแอโรบิค (moderate intensity) วันละ 30 นาที 5 ครั้งต่อสัปดาห์ ตามคำแนะนำของแพทย์ กรณีไม่มีข้อห้าม
งดเครื่องดื่มแอลกฮอล์
ทำจิตใจให้สงบ และผ่อนคลายความเครียด ไม่โกรธ หรือโมโหง่าย
การใช้ยาเพื่อลดและควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ยาฉีดอินซูลิน
ยารับประทาน
รับประทานยาเพื่อควบคุมความดันโลหิต หรือเบาหวานตามคำแนะนำของแพทย์อย่างสม่ำเสมอ
การตรวจวัดระดับน้ำตาล
ผู้ป่วยและผู้ดูแลสังเกตอาการผิดปกติเนื่องจากภาวะน้ำตาลต่ำหรือสูงเกินไป เช่น หน้ามืด ใจสั่น หมดสติ
การวินิจฉัยโรคเบาหวาน
การตรวจความทนต่อกลูโคส (75 กรัม Oral Glucose Tolerance Test, OGTT) ถ้าระดับพลาสมากลูโคส 2 ชั่วโมง หลังดื่มน้ำตาล 200 มก./ดล. ให้วินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน
ผู้ที่มีอาการของโรคเบาหวานชัดเจนคือ หิวน้ำบ่อย ปัสสาวะบ่อยและมาก น้ำหนักตัวลดลงโดยที่ไม่มี
สามารถตรวจระดับพลาสมากลูโคสเวลาใดก็ได้ ไม่จำเป็นต้องอดอาหาถ้ามีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ200 มก./ดล. ให้การวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน
การตรวจระดับพลาสมากลูโคสตอนเช้าหลังอดอาหารข้ามคืนมากกว่า 8 ชั่วโมง (FPG) มีค่า 126มก./ดล.เหมาะสำหรับคนทั่วไปที่มาตรวจสุขภาพ และผู้ที่ไม่มีอาการ
ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน
ตา อาจเป็นต้อกระจกก่อนวัย จอตาเสื่อม ทำให้ตามัวลงเรื่อยๆ และอาจทำให้ตาบอดในที่สุด ควรตรวจตาอย่างน้อยปีละครั้ง
เท้า ทำให้มีอาการชาปลายมือปลายเท้า เกิดแผลได้ง่ายและ อาจก่อให้เกิดความพิการ
ระดับความเสี่ยงของเท้า
ระดับ0 มีความรู้สึกสัมผัสเท้าที่ผิดปกติแต่ไม่มีอาการชาและไม่มีแผล
ระดับ1 ความรู้สึกสัมผัสที่เท้าลดลง มีชาบ้างและไม่มีแผลไม่รู้สึกตั้งแต่1ตำแหน่งขึ้นไป
ระดับ2 สูญเสียความรู้สึกสัมผัสที่เท้า มีอาการชา สูเสียความรู้สึกในการป้องกันอันตรายร่วมกับมีจุดรับน้ำหนักผิดปกติไป เช่นเท้าผิดรูป การเคลื่อนไหวของข้อลดลง มีตาปลาและ/หรือการไหลเวียนของเลือดผิดปกติ
ระดับ3 มีแผลที่เท้าหรือประวัติเคยเป็นแผลที่เท้า
การตรวจด้วย monofilament
การตรวจประสาทรับความรู้สึกเจ็บด้วยของแหลมคม(pinpick sentation) ด้วย semmes-wienstien monofilament
ไต มักจะเสื่อม จนเกิดภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง, โปรตีน (ไข่ขาวรั่วในปัสสาวะ)
ภาวะคีโตซีส(ketosis)ผู้ป่วยมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน กระหายน้ำมาก หายใจหอบลึก มีไข้ กระวนกระวาย
ผนังหลอดเลือดแดงแข็ง ทำให้เป็นความดันโลหิตสูง อัมพาต หัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมองตีบ โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย
เป็นการติดเชื้อได้ง่ายเนื่องจากภูมิต้านทานต่ำ
เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
อาการและสาเหตุ
อาการ
ปัสสาวะบ่อยทั้งกลางวันและกลางคืน
กระหายน้ำ
อ่อนเพลีย และน้ำหนักลด
หิวบ่อย รับประทานเก่งขึ้น
คันตามตัว ติดเชื้อได้ง่าย เป็นเชื้อรา ตกขาวบ่อย
ตาพร่า เห็นภาพไม่ชัด เห็นภาพซ้อน
ปลายมือ ปลายเท้าชาอันเนื่องมาจากปลายประสาทเสื่อม
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
น้ำหนักเกิน ความอ้วน ขาดการเคลื่อนไหว ขาดการออกกำลังกาย
อายุที่มากขึ้น มีโอกาสเป็นเบาหวานได้มากขึ้น
โรคของตับอ่อน เช่น ตับอ่อนอักเสบ ได้รับการผ่าตัดตับอ่อน
การติดเชื้อไวรัสบางชนิด เช่น หัด หัดเยอรมัน คางทูม ซึ่งมีผลต่อตับอ่อน
ความเครียดเรื้อรัง
การได้รับยาบางชนิด ทำให้มีการสร้างน้ำตาลมากขึ้นหรือการตอบสนองของอินซูลินได้ไม่ดี
การตั้งครรภ์ เนื่องจากมีการสร้างฮอร์โมนจากรกหลายชนิด ซึ่งมีผลยับยั้งการทำงานของอินซูลิน
(สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย,2560)