Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะโลหิตจางร่วมกับการตั้งครรภ์ (Pregnancy with Anemia) - Coggle Diagram
ภาวะโลหิตจางร่วมกับการตั้งครรภ์ (Pregnancy with Anemia)
สาเหตุ
การตกเลือดก่อนคลอดด้วยสาเหตุต่าง ๆ
สาเหตุจากการทำลายเม็ดเลือดมาก
พบไม่บ่อย : autoimmune hemolytic anemia, beta-thal / Hb E disease
พบบ่อย : Hb H disease
พบน้อย : sickle cell anemia
การสร้างไม่พอ
พบน้อย : Aplastic anemia และอื่น
พบไม่บ่อย : การขาดโฟเลต
พบบ่อย : การขาดธาตุเหล็ก การเสียเลือดจากพยาธิปากขอ
ผลกระทบของโลหิตจางต่อสตรีตั้งครรภ์
เพิ่มการท่างานของหัวใจ
ซ้่าเติมต่อมารดาโดยตรงเมื่อมีการเสียเลือดจากการคลอดหรือการตั้งครรภ์ ท่าให้ช็อค หรือไตล้มเหลวได้ง่าย
เพิ่มอัตราการตายปริก่าเนิด
ปัญหาจากสาเหตุของโลหิตจาง
แนวทางการวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้นเพื่อค้นหาโรคที่พบบ่อย
เมื่อการตรวจเบื้องต้นไม่ได้ค่าตอบ ให้ปรึกษาอายุรแพทย์เพื่อตรวจขั้นลึก
ซักประวัติและตรวจร่างกาย
สืบค้นตามหลักฐานบ่งชี้ถึงสาเหตุ
แนวทางการดูแลรักษา
ควรรักษาระดับ Hb ให้มากกว่า 7 กรัม/ดล.
ตรวจสุขภาพมารดาถึงผลกระทบของภาวะซีด
เฝ้าระวังการเจริญเติบโตของทารก
พิจารณาให้เลือดเฉพาะเมื่อจ่าเป็นจริง
ฝากครรภ์ในคลินิกครรภ์เสี่ยงสูง
รักษาไปตามสาเหตุของเฉพาะโรค
โลหิตจางจากการขาดโฟเลต
การวินิจฉัยภาวะขาดโฟเลต
ระดับโฟเลตในเลือด หรือในเม็ดเลือดแดงต่่า
การขับของ FIGLU ในปัสสาวะหลังกิน histidine เป็นการวัดระดับโฟเลตสะสม
Serum THFA ต่่ากว่าระดับปกติ
การตรวจ peripheral blood หรือไขกระดูก พบลักษณะ megaloblastic
การรักษาและป้องกันภาวะขาดโฟเลต
รับประทานหรือฉีดโฟเลตประมาณ 1 มก.ต่อวัน
ขณะตั้งครรภ์ควรได้รับกรดโฟลิคเสริมวันละ 400 ไมโครกรัม
ธาลัสซีเมีย
Beta-Thalassemia
Alpha-Thalassemia
การป้องกัน
ให้การศึกษาความรู้เกี่ยวกับธาลัสซีเมียในชุมชน
ให้ค่าปรึกษาด้านพันธุศาสตร์แก่รายที่มีความเสี่ยงต่อการมีบุตรเป็นธาลัสซีเมีย
การประเมินอัตราเสี่ยง
การให้ข้อมูลเกี่ยวกับอัตราเสี่ยง
การวินิจฉัยโรค
การให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค
การให้ข้อมูลเกี่ยวกับทางเลือกเพื่อหลีกเลี่ยงการมีลูกเป็นโรค
การวินิจฉัยก่อนคลอด
วินิจฉัยก่อนคลอด
เก็บตัวอย่างเซลล์ทารก
เก็บตัวอย่างเลือดจากสายสะดือทารกมาตรวจ
ตรวจอัลตราซาวด์ว่าเป็นทารกบวมน้่าหรือไม่
คัดกรองหาผู้เป็นพาหะของยีนธาลัสซีเมีย
Prospective screening
Retrospective screening
ติดตามผู้ป่วยและประเมิน
โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
ระยะที่มีการบกพร่องของ erythropoiesis แต่ระดับ Hb ปกติอยู่
ระยะที่มีโลหิตจางชัดเจน
ระยะที่ขาดเหล็กสะสม
การรักษา
ให้เหล็กทางเส้นเลือด
การให้เลือด
ให้รับประทานเกลือเหล็กวันละ 200 มก. ต่อวัน