Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 ปัญหาเกี่ยวกับหนังสืออ่านสำหรับเด็ก - Coggle Diagram
บทที่ 9 ปัญหาเกี่ยวกับหนังสืออ่านสำหรับเด็ก
ปัญหาเกี่ยวกับหนังสืออ่านสำหรับเด็ก
3. ปัญหาการจำหน่าย
3.1 สำนักพิมพ์ตั้งราคาจำหน่ายไว้สูงเพื่อลดเปอร์เซ็น
3.2 สำนักพิมพ์และร้านจำหน่ายหนังสือแข่งขันกันเพื่อนการค้า
3.3 ร้านจำหน่ายหนังสือมีจำนวนจำกัด
3.4 ห้องสมุดมักชอบขอหนังสือ
3.5 ผู้ซื้อชอบซื้อหนังสือราคาถูก
3.6 คนส่วนมากยังไม่นิยมซื้อหนังสือให้เด็ก
4. ปัญหาเด็กไม่ชอบอ่านหนังสือ
4.1 ไม่มีหนังสืออ่าน
4.2 ระเบียบวิธีสอนและหลักสูตร
4.3 คุณภาพของหนังสือ
4.4 บ้านขาดหนังสือ
4.5 เด็กขาดความสนใจในทางการศึกษา
2. ปัญหาการจัดพิมพ์
2.2 ต้นทุนในการผลิตมีน้อย
2.3 การพิมพ์หนังสือแต่ละเรื่องมีจำนวนจำกัด
2.1 ผู้พิมพ์ซึ่งได้แก่สำนักพิมพ์เร่งผลิตหนังสือออกการแข่งขัน
2.4 ข้อบกพร่องในการพิมพ์ยังมีมาก เช่น ตัวสะกดคลาดเคลื่อน ตัวพิมพ์หัก
2.5 สำนักพิมพ์ส่วนมากยังไม่มีบรรณาธิการประจำ เพื่อควบคุมภาพการพิมพ์
2.6 ผู้ซื้อมุ่งแต่จะซื้อหนังสือราคาถูก
1.ปัญหาด้านการเขียน
1.2การจ่ายค่าเขียนหนีงสือสำหรับเด็กนับว่าน้อยมาก บางครั้งไม่ได้ค่าตอบแทนเลย
1.3ผู้เขียนภาพประกอบหังสือสำหรับเด็กที่มีฝีมือถึงขนาดมีจำกัดมาก
1.1นักเขียนส่วนใหญ่มีงานประจำอยู่แล้วจึงไม่มีเวลาที่จะเขียนหนังสือสำหรับเด็กโดยเฉพาะ
การแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับหนังสือสำหรับเด็ก
1.การแก้ปัญหาด้านการเขียน
1.3ควรสนับสนุนให้มีนักเขียนภาพประกอบที่ดี
1.4ควรส่งเสริมให้มีการมมากขึ้น
1.2การตั้งอัตราค่าเขียนเรื่องควรมีกฎเกณฑ์ใหม่ ไม่ใช้อย่างเดียวกับการจ่ายค่าเรื่องแก่ผู้เขียนหนังสือสำหรับผู้ใหญ่
1.5การทุนช่วยเหลือด้านการพิมพ์แก่ผู้ที่คิดจะสร้างหนังสือสำหรับเด็ก
1.ควรมีการส่งเสริมการเขียน โดยการตั้งรางวัลเป็นกำลังใจ
2.การแก้ปัญหาด้านการผลิต ทำได้โดย
2.1ผู้พิมพ์ควรร่วมมือกันในทางวิชาการ เพื่อปรับปรุงคุณภาพของหนังสือให้ดีขึ้น
2.2สำนักพิมพ์ควรมีบรรณาธิการที่มีคุณวุฒิเหมาะสมเป็นผู้คัดเลือก ตรวจ และควบคุมการจัดพิมพ์หนังสือให้มีคุณภาพสูง
2.3ผู้ผลิกคสรพิจารณาถึงความสนใจและความต้อการของเด็ก และพยายามผลิตหนังสือเพื่อสนองความต้องการนี้
2.4รัฐควรหาทาช่วยเหลือทางด้านการเงินแก่ผู้ที่จะผลิตหนังสือสำหรับเด็ก
2.5ควรหาทางให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ซื้อในเรื่องคุณภาพของหนังสือ ไม่เพ่งเล็งแต่ราคาถูกเพียงอย่างเดียว
2.6ผู้ผลิตไม่ควรแข่งขันกันทางด้านการค้าแต่อย่างเดียว ควรคำคนึงถึงคุณภาพของหนังสือด้วย
4. การแก้ปัญหาเด็กไม่ชอบอ่านหนังสือ อาจทำได้โดย
4.3 การสอน ครูควรสอนด้วยวิธีให้เด็กได้แสวงหาความรู้
4.4การวัดผล ควรสอดคล้องกับการเรียนการสอน
4.2 ห้องสมุดโรงเรียน เป็นสิ่งที่ทุกโรงเรียนควรจัดให้มีขึ้น
4.5 การสั้่งสอนอบรมให้เด็กรักการศึกษา
4.1 สภาพทางบ้านที่ผู้ปกครองเอาใจใส่ดูแล*
3. การแก้ปัญหาด้านการจำหน่าย อาจทำได้ดังนี้
3.2 การลดราคาร้อยละ 50 ทำให้ตลาดเสีย ควรเลิก
3.3 สำนักพิมพ์ควรร่วมมือกันขจัดความไม่รู้หนังสือ
3.1 สำนักพิมพ์ควรร่วมมือกันในการตั้งราคา
3.4 รัฐบาลเพิ่มงบประมาณให้ห้องสมุดมากขึ้น
3.5 ครู บรรณารักษ์ และผู้ปกครองควรช่วยกันเพาะนิสัยในการอ่านแก่เด็กให้มากขึ้น
3.6 การตั้งสโมสรหนังสือสำหรับเด็ก
มุมหนังสือ
3.ช่วยให้เด็กมีความรู้กว้างขวางขึ้น
4. ช่วยให้การเรียนตามหลักสูตรสมบูรณ์ขึ้น
2. ช่วยให้เด็กรู้จักค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง
5. หัดให้เด็กรู้จักความเป็นระเบียบ
1. ช่วยปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน
6.หัดให้เด็กรู้จักษาสาธารณสมบัติ รักษาหนังสือ และข้าวของเครื่องใช้ในห้องสมุด
7. เด็กรู้จักใช้หนังสือ คือ รู้จักค้นว่า ความรู้ชนิดนี้จะหาได้จากหนังสือชนิดใด เช่่น รู้จักใช้พจนานุกรมเมื่อต้องการดูคำศัพท์
8. การเข้าใช้ห้องสมุดย่อมฝึกให้เด็กมีมารยาทดี
9. เด็กรู้จักทำงานร่วมกัน
10. รู้จักตัดสินว่าหนังสือใดมีคุณค่า
บรรณทัศน์หนังสืออ่านสำหรับเด็กบางเล่มที่น่าสนใจ
ชื่อเรื่อง:ความสุขของกะทิ
ผู้แต่ง:งามพรรณ เวชชาชีวะ สำนักพิมพ์ แพรว
ความสุขกะทิได้รับการแปลและจำหน่ายใน 9 ประเทศ คือ อเมริกา ญี่ปุ่น เกาหลี เยอรมณี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สเปน อิตาลี และฝรั่งเศส และได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (ซีไรต์) ประจำปี 2549
ความสุขของกะทิ เป็นนวนิยายว่าด้วยเรื่องราวของเด็กวัย 9 ขวบ กะทิต้องผ่านประสบการณ์การสูญเสียครั้งสำคัญที่สุด เมื่อแม่ต้องจากไปก่อนวัยอันควร กะทิได้ผ่านขั้นตอนความสุขและทุกข์ ความผูกพันและการผลัดพราก ความสมหวังและความสูญเสีย ได้เรียนรู้ว่าความทุกข์จากการสูญเสีย ไม่อาจพรากความสุขจากความรักและความผูกพันของแม่เธอได้