Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีความโกรธและความก้าวร้าว …
บทที่ 3การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีความโกรธและความก้าวร้าว
สาเหตุการเกิดของความความโกรธ
ปัจจัยด้านจิตใจ (psychological factors)
ด้านจิตวิเคราะห์ (psychoanalytic theory)
ด้านพฤติกรรมและการรู้คิด (cognitive-behavioral theory)
ปัจจัยด้านสังคม (psychosocial factors)
แนวคิดทางด้านสังคมวิทยา (sociocultural theory
เด็กที่เติบโตในครอบครัวที่มีพฤติกรรมรุนแรง
ปัจจัยด้านชีวภาพ (biological factors)
การได้รับบาดเจ็บหรือความกระทบกระเทือนที่สมอง
การเจ็บป่วยทางกายอื่นๆ
สารสื่อประสารในสมอง
ความหมายความโกรธ
เป็นปฏิกิริยาตอบสนองทางด้านจิตใจและอารมณ์ของบุคคล เป็นประสบการณ์ของความรู้สึกทางอารมณ์ที่เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน
การพยาบาลบุคคลที่มีความโกรธ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เป้าหมายระยะยาว
เพื่อปรับเปลี่ยนบุคลิกภาพและรูปแบบการเผชิญปัญหาที่สร้างสรรค์เมื่อมีความโกรธ
เพื่อพัฒนาทักษะในการปรับตัวและสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นเมื่อมีความโกรธ
ตัวอย่างการเขียนข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงทั้งต่อตนเองและผู้อื่นเนื่องมาจากมีอารมณ์โกรธและไม่สามารถระบายอารมณ์โกรธได้อย่างสร้างสรรค์
การแสดงอารมณ์โกรธไม่เหมาะสมเนื่องจากขาดทักษะในการเผชิญปัญหาอย่างสร้างสรรค์
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนทางร่างกาย เนื่องจากมีภาววะความดันโลหิตสูงที่มีความสัมพันธ์กับอารมณ์โกรธ
ขาดทักษะในการสร้างสัมพันธภาพเนื่องจากอารมณ์โกรธ
รู้สึกผิดและคิดว่าตนเองด้อยค่าเมื่อมีอารมณ์โกรธ
เป้าหมายระยะสั้น
เพื่อลดภาวะเสี่ยงในการเกิดพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
เพื่อให้ระบายอารมณ์โกรธอย่างสร้างสรรค์
เพื่อป้องกันอันตรายจากโรคทางร่างกายที่มีความเชื่อมโยงจากอารมณ์โกรธ
การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยสามารถอธิบายวิธีการเผชิญความโกรธที่สร้างสรรค์ได้มากกว่าเดิม
ผู้ป่วยมีวิธีการระบายความรู้สึกโกรธที่สร้างสรรค์มากขึ้น โดยไม่ใช้วิธีการที่รุนแรงในการเผชิญความโกรธ
ผู้ป่วยและผู้อื่นปลอดภัยจากพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงของผู้ป่วย
ผู้ป่วยมีอาการและอาการแสดงทางร่างกายที่เป็นผลจากอารมณ์โกรธลดลง
ผู้ป่วยมีวิธีการเผชิญปัญหาที่สร้างสรรค์มากขึ้น
ผู้ป่วยสามารถสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นได้มากขึ้น หรือสามารสื่อสารกับผู้อื่นได้ตามความต้องการของตนได้อย่างเหมาะสม
ผู้ป่วยสามารถแสวงหาแหล่งประโยชน์ที่สนับสนุน ช่วยเหลือ เมื่อผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองไม่สามารถควบคุมอารมณ์โกรธ หรือพฤติกรรมก้าวร้าวไม่ได้
การประเมินบุคคลที่มีภาวะโกรธ
ประเมินอาการทางร่างกาย
ประเมินการใช้กลไกทางจิต
ประเมินบุคคลดังกล่าวว่ามีความขัดแย้งในจิตใจว่ามีสูงมาก หรือน้อยเพียงใด
ประเมินพื้นฐานอารมณ์ดั้งเดิมของผู้ป่วยและระดับความอดทนของผู้ป่วยแต่ละคน
ประเมินความเสี่ยงในการทำร้ายตนเอง
ประเมินความเข้าใจตนเองของผู้ป่วย
ประเมินระดับความสามารถในการสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น
ประเมินสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตวิญญาณ หรือมีความเชื่อ
กิจกรรมทางการพยาบาล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยเรียนรู้และเข้าใจบุคลิกภาพและอารมณ์โกรธของตน
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ประเมินรูปแบบการเผชิญปัญหาของผู้ป่วยว่ามุ่งเน้นการแก้ไขปัญหา
จัดให้ผู้ป่วยเข้ากลุ่มกิจกรรมนันทนาการบำบัด ดนตรีบำบัด
ส่งเสริมและฝึกให้ผู้ป่วยใช้ทักษะการเผชิญอารมณ์โกรธอย่างสร้างสรรค์
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเข้ากลุ่มกิจกรรมบำบัดร่วมกับเพื่อนผู้ป่วย
แสดงการยอมรับ ชื่นชม และให้กำลังใจผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ
ประเมินอาการและอาการแสดงทางกายที่เป็นผลมาจากอารมณ์โกรธที่เพิ่มมากขึ้น
ลักษณะอาการและอาการแสดงของความความโกรธ
ด้านจิตใจและอารมณ์
การกระทำที่รุนแรง (violence)
แยกตัว (withdrawal)
ความก้าวร้าว (aggression)
ซึมเศร้า (depression)
ความไม่เป็นมิตร (hostility)
ด้านร่างกาย ระบบประสาทซิมพาทิติก (sympathetic) จะได้รับการกระตุ้นทำให้อัตราการเต้นหัวใจและความดันโลหิตสูงขึ้น หน้าแดง มือสั่น หายใจเร็วแรง