Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Respiratory failure) - Coggle Diagram
ภาวะหัวใจล้มเหลว
(Respiratory failure)
เป็นภาวะที่ปอดไม่สามารถทำงานแลกเปลี่ยนออกซิเจนให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายและมีผลให้เกิดการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และเกิดภาวะออกซิเจน (O2) ในเลือด
กลไกการเกิดโรคภาวะหัใจล้มเหลว
hypoventilation: หายใจช้า ตื้น, tidal volume: VT ลดลง เกิดภาวะ Hypercapnia
diffusion defect: ถุงลมบวม/หนา, พังผืดทีถุงลม
V/Q mismatch: อากาศทีเข้าปอดไม่ได้แลกเปลียน ผล คือ PaO2 ต่า เกิด hypoxia • การระบายอากาศทีสญู เปล่า (dead space ventilation) มีการ ระบายอากาศมากกว่าเลือดทีไหลมายังปอด
shunt: มักมี PaO2ต่า เพราะไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ เช่น ปอด แฟบ ปอดอักเสบ น้ำท่วมปอด
พยาธิสภาพ
เมื่อร่างกายมีภาวะหายใจล้มเหลวจะมีความดันออกซิเจนในเลือดแดงต่ำ Hypoxemia หรือ Pao2ต่ำ ในระยะเเรกและตามมาด้วยความดันคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดแดงสูง Hypercapnia หรือ PaCO2 สูง
สาเหตุ
หลอดลมตีบตัน
หอบหืดลอดลมอักเสบรุนเเรง
มีน้ำหรือลมในช่องเยื่อปอด
อาการ
หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ เขียว หากมี CO2 คั่งในเลือดมากผู้ป่วยจะมีอาการซึมหัวใจเต้นเร็ว
ความแตกต่าง Respiratory distress และ Respiratory failure
ภาวะการหายใจลำบาก
Respiratory distress
ภาวะหายใจลำบาก หรือภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบาก ภาวะความผิดปกติในระบบทางเดินหายใจของทารก ซึ่ง พบในเด็กก่อนกำเนิด ปรากฎอาการ 6 ชั่วโมงหลังคลอด
กลไกการเกิดภาวะหายใจลำบาก
การกระตุ้นตัวรับรู้ทางเคมีรอบนอกหรือตัวรับรู้ ทางเคมีส่วนกลาง (stimulation of peripheral or central chemoreceptor) เป็นตัวรับรู้การเปลี่ยนแปลง สารเคมีในเลือด
การกระตุ้นการรับรู้ภายในปอด (Stimulation of intrapulmonary receptor) ตัวรับรู้ภายในปอด ประกอบด้วย ตัวรับรู้การระคายเคือง (irritant receptor) ตัวรับรู้การยืดของปอด (pulmonary stretch receptor) และตัวรับรู้ของเน้ือปอด (lung parenchymal receptor
การกระตุ้นตัวรับกลไกของผนังทรวงอกหรือ กล้ามเนื้อหายใจ (stimulation of chest wall or respiratory mechanoreceptor) กลไกนี้ตอบสนองต่อ การเคล่ือนไหว ความตึงตัวและความยาวของกล้ามเน้ือ บริเวณผนังทรวงอกหรือกล้ามเน้ือหายใจในการหายใจปกติ แรงท่ีใช้ในการหายใจเข้า
ความต้องการการหายใจเพิ่มขึ้น (increased motor command) เกิดจากสมองส่วนสั่งการ (motor cortex) ส่งสัญญาณประสาทไปยังสมองส่วนรับรู้ความ รู้สึก (sensory cortex) มากกว่าปกติ ทําให้ผู้ป่วยต้องใช้ แรงในการหายใจเพิ่มขึ้น เกิดอาการหายใจลำบาก
พยาธิสภาพ
การมีเลืดไหลลัดจากซ้ายไปขวา เนื่องจาก Palent ductus ทำให้เลือดเข้าปอดมากขึ้น การขาดสารลดแรงตึงผิว และความผิดปกติของการสร้างและหลั่งสาร ลดแรงตึงผิวออกมาในถุง ความไม่สมบูรณ์ของกายวิภาคของเนื้อปอด เซลล์บุหลอดเลือดฝอย และผนังหน้าอก
อาการ
หายใจเร็ว หายใจเสียงดังหรือมีเสียงร้องคราง จมูกบานหรือกว้างขึ้นขณะหายใจ
หยุดหายใจเป็นเวลาสั้น ๆ
หน้าอกบุ๋มหรือช่องระหว่างซี่โครงยุบลงเนื่องจากหายใจมาก
ริมผีปาก ปลายมือและปลายเท้าเป็นสีม่วงคล้ำ เพราะออกซิเจนไม่เพียงพอ
สาเหตุ
ภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบากเกิดจากร่างกายของเด็กทารกมีปริมาณสารลดแรงตึงผิวไม่เพียงพอ เนื่องจากปอดพัฒนาได้ไม่เต็มที่ โดยสารดังกล่าวจะถูกผลิตขึ้นในช่วงสัปดาห์ที่ 24-28 ของการตั้งครรภ์ ซึ่งจะช่วยเคลือบผิวเยื่อบุถุงลมเพื่อช่วยให้การกักเก็บหรือปล่อยลมออกจากถุงลมภายในปอดทำงานได้อย่างปกติ จึงมักพบภาวะนี้ในทารกที่คลอดก่อนกำหนด