Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะช็อคจากหัวใจ (Cardiogenic shock) และ ช็อคจากระบบประสาท (Neurogenic…
ภาวะช็อคจากหัวใจ (Cardiogenic shock) และ ช็อคจากระบบประสาท (Neurogenic shock )
ภาวะช็อค (Shock)
ช็อค (Shock) หมายถึง ภาวะท่ีมีการไหลเวียนโลหิตไปยังเนื้อเยื่อไม่ : เพียงพอ จึงทำ ให้เนื้อเยื่อขาดออกซิเจนและสารท่ีจาํ เป็นต่อการดไรงชีวิต รวมทั้งมีของเสียท่ีเกิดจากเมตะบอลิซึมของเซลล์คั่งค้างอยู่ จึงเกิดการ ทำลายเนื้อเยื่อทั่วร่างกาย
ระยะช็อก
ระยะเเรกหรือการปรับตัว
ระยะที่ปรับตัวไม่สำเร็จ
ระยะสุดท้ายหรือระยะไม่ฟื้น
กลไกการปรับชดเชย
ถึงแม้ช็อกจะมีสาเหตุและกลไกการเกิดท่ีแตกต่างกันแต่ผลกระทบท่ี เกิดขึ้นคือปริมาณเลือดท่ีออกจากหวัใจต่อนาทีลดต่ำความดันเลือดแดงเฉลี่ยลด และอาการแสดงของเนื้อเยื่อในระบบอวัยวะต่างๆได้รับเลือดไปเลร่ยงไม่เพียง
การประเมินสภาพช็อค
ความสำคัญ ของการประเมินสภาพช็อคหรอื โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดช็อค ขึ้นอยู่กับ ความสามารถในการวินิจฉัย ข้อมูลที่ได้จากการซกั ประวัติ(Subjective data)ข้อมูลจากการตรวจ สังเกต(objectivedata)
ช็อคจากหัวใจ (Cardiogenic shock)
เกิดขึ้นเนื่องจากกล้ามเนื้อใจถูกทำลายจนไม่สามารถจะบีบ เลือดออกไปเลี้ยงร่างกายได้เพียงพอ(Cardiacoutputลดลง) และความดันเลือดจะลดลงตามมา
สาเหตุ (Cardiogenic shock)
การสูบฉีดล้มเหลว (pump failure)
ความผิดปกติจะเกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจ ลิ้นหัวใจ เช่น กล้ามเนื้อหัวใจตาย กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความผิดปกติของลิ้นหัวใจตีบ
การไหลกลับของเลือดมายังหัวใจห้องล่างซ้ายลดลง
ปริมาณเลือดที่เข้าสู่หัวใจในระยะคลายตัวมีผลต่อปริมาณเลือดที่สูบฉีดออกจากหัวใจใน 1 นาที ปริมาณเลือดที่กลับสู่หัวใจได้น้อย เช่น ภาวะเกิดการกดรัดหัวใจ
Vasogenic shock
ภาวะ shock จากหลอดเลือด เป็นภาวะที่มีการขยายตัวของหลอดเลือดอย่างมากจนเกิดเลือดคั่งในหลอดเลือดที่มีการขยายตัว เป็นผลให้ปริมาณเลือดไหลกลับเข้าสู่หัวใจลดลง
อาการ
มีอาการวิตกกังวลสับสน มือเท้าเย็น ผิวซีดลง มีเหงื่อออก หัวใจเต้นเร็ว แต่ชีพจรเต้นเบา หายใจเร็ว หายใจถี่และสั้น
การวินิจฉัย
-การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram: ECG/EKG) -การทำเอคโคหัวใจ (Echocardiogram)
ช็อคจากระบบประสาท Neurogenic shock
เซลล์ประสาท กระแสประสาทจาก ระบบประสาทส่วนกลาง ไปยังกล้ามเนื้อเรียบกล้ามเนื้อหัวใจและต่อมต่างๆ
แบ่งสาเหตุ Neurogenic shock ตามพยาธิสภาพ
1.พยาธิสภาพท่ีสมอง (Cerebral damage) ทำให้กระทบกระเทือน Vasomotor center ท่ีเมดลั ลา เช่น ได้รับบาดเจ็บท่ีสมอง สมองขาดเลือด สมองบวม เนื้องอกในสมองไดรับ
พยาธิสภาพท่ีไขสันหลัง (Spinal cord injury) ทำให้ Vasomotor center ไม่สามารถ ควบคมุ Preganglionic vasoconstrictor nerve ได้ เช่น ได้รับบาดเจ็บท่ีไขสันหลัง มีการตัดขาดของไขสันหลังหรือได้รับยาสลบซึ่งให้ทางไขสันหลัง(Spinal anesthesia)
พยาธิสภาพ
Neurogenic shock
การเสียหน้าที่ของระบบประสาท หลอดเลือดดำและแดงขยายตัว ปริมาณเลือดไหลกลับเข้าสู่หัวใจลดลง ปริมาณเลือดที่สูบฉีดออกจากหัวใจแต่ละครั้งลดลง ปริมานเลือดที่สูบฉีดจากหัวใจใน1นาทีลดลงออกซิเจน ไปให้เซลล์ลดลง การกำซาบของเนื้อเยื่อลดลง เซลล์ขาดออกซิเจน
ตัวอย่างสาเหตุที่ทำให้เกิด Neurogenic shock
บาดเจ็บไขสันหลัง ส่วนใหญ่พบในเพศชาย สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากอุบัติเหตุทางจราจร กีฬาทีทมีความเสี่ยง ว่ายน้ำ ดำนำ
พยาธิสภาพที่สมอง (cerebral damage)
พยาธิสภาพที่ไขสันหลัง (spinal cord injury)
ทำให้ศูนย์ควบคุมหลอดเลือดไม่สามารถควบคุม preganglionic vasoconstrictor nerve ได้ เช่น ได้รับบาดเจ็บที่ไขสันหลัง มีการตัดขาดของไขสันหลัง
จะทำให้กระทบกระเทือนศูนย์ควบคุมที่ medulla เช่น ได้รับบาดเจ็บที่สมอง สมองขาดเลือด สมองบวม เนื้องอกในสมอง ได้รับกระเทือน