Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปอดบวม - Coggle Diagram
ปอดบวม
-
ภาวะแทรกซ้อน
1.น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด (pleural effusion) เกิดจากการอักเสบของเนื้อปอดลามออกมาถึงเยื่อหุ้มปอด จำนวนน้ำมีได้ตั้งแต่เล็กน้อยจนถึงขนาดมาก ถ้ามีไม่มากก็อาจหายเองได้ ในรายที่มีจำนวนมากจนทำให้เกิดอาการหอบจะต้องทำการรักษาโดยการเจาะดูดเอาน้ำออก
-
3.ปอดแตกและมีลมในช่องปอด (pneumothorax )มักเกิดจากการติดเชื้อที่รุนแรง ผู้ป่วยจะแน่นหน้าอกและหายใจหอบเหนื่อย
- เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ( pericarditis ) เยื่อหุ้มสมองอักเสบ( meningitis )ปัจจุบันพบน้อย
-
-
สาเหตุ
-
2.ติดเชื้อจากเชื้อรา โดยส่วนมากจะเกิดในผู้ป่วยที่มีสุขภาพร่างกายย่ำแย่ มีระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ หรือเป็นโรคเรื้อรังเช่น โรคเบาหวาน โรคไตวาย
3.ติดเชื้อจากไวรัส เป็นสาเหตุที่พบบ่อยในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ขวบ แต่จะมีอาการไม่รุนแรงมาก และเชื้อไวรัสบางชนิดที่เป็นสาเหตุของไข้หวัดสามารถทำให้เป็นปอดบวมได้
การรักษา
-
การรักษาปอดบวมที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย การให้ยาปฏิชีวนะ มักใช้ในผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรง และไม่มีอาการแทรกซ้อน อาจให้การรักษาแบบผู้ป่วยนอก ด้วยยาปฏิชีวนะชนิดรับประทาน เช่น ยาอะม็อกซี่ซิลลิน เป็นต้น
การรักษาปอดบวมที่เกิดจากเชื้อไวรัส โดยส่วนใหญ่โรคปอดบวมจากเชื้อไวรัสมักหายได้เองภายใน 1-3 สัปดาห์ แต่หากอาการไม่ดีขึ้น อาจมีอาการรุนแรงหรือรุนแรงมาก เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ควรอยู่ในความดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิดและได้รับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
ปอดบวมหรือภาวะปอดอักเสบ ซึ่งอาจเป็นเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัสซึ่งในสภาวะที่ผิดปกติอาจจะเกิดจากเชื้อรา พยาธิ เมื่อปอดบวมจะมีหนองและสารน้ำอย่างอื่นในถุงลม ทำให้ร่างกายไม่สามารถรับออกซิเจนได้ ทำให้ร่างกายขาดออกซิเจนอาจถึงแก่ชีวิต