Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยโรคตา หู คอ จมูก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยโรคตา หู คอ จมูก
ตา
ตา เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ในการมองเห็น
ประกอบด้วย 3 ชั้น
2.ชั้นกลาง มีหลอดเลือดจำนวนมาก ประกอบด้วย
ม่านตา (Iris)
Ciliary body
Choroid
3.ชั้นใน ประกอบด้วย
แก้วตา (Lens)
วุ้นตา (Vitreous)
จอประสาทตา (Retina)
1.ชั้นนอก เป็นชั้นของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ประกอบด้วย
กระจกตา (Cornea)
เปลือกลูกตา (Sclera)
การตรวจตา ใช้เทคนิคการดู และการคลำ
คิ้ว ดูการกระจายตัวของขนคิ้ว
ลูกตา ดูตำแน่งของลูกตา ความชุ่มชื้น ความนุ่มของลูกตาหากสัมผัสแล้วแข็งบ่งบอกถึงภาวะความดันในลูกตาสูง ตรวจดูภาวะตาโปน(Exopthalmos)
หนังตา ดูว่าบวม ชำ้เป็นก้อนเป็นหนองหรือไม่
ขนตา สังเกตว่ามีม้วนเข้าด้านในหรือไม่
ขนตาปลิ้นออก (ectropion)
ขนตาม้วนเข้า (entropion)
รูม่านตาและแก้วตา สังเกตว่ารูม่านตากลมหรือไม่ แก้วตาปกติเป็นสีดำและใสหากมีแก้วตาขุ่นจะเป็นต้อกระจก
ต้อหิน(Glaucoma)
ชนิดและอาการของโรคต้อหิน แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
ต้อหินทุติยภูมิ (Secondary glacoma)
เกิดจากมีโรคทางกายที่ทำ
ให้การไหลของเอเควียสลดลง
ต้อหินแต่กำเนิด (Congenital glacoma)
ต้อที่เกิดจากมี
development anormalies
ต้อหินปฐมภูมิ (Primary glacoma)
ต้อหินชนิดมุมเปิด (open – angle glacoma)
การตีบแคบของท่อ
ตะแกรงที่เป็นทางระบายน้ำเลี้ยงภายในลูกตา (trabecular meshwork) การระบายน้ำเลี้ยงภายในลูกตาลดลง
ต้อหินชนิดมุมปิด (angle – closure glacoma)
มีการตีบแคบของ trabecular meshwork ที่เป็นทางระบายน้ำเลี้ยง
ลูกตาทำให้การระบายน้ำเลี้ยงในลูกตาลดลงทำให้มีแรงกดภายในลูกตา
โดยเฉพาะบริเวณขั้วประสาทตา (optic disc) มีการท าลายของประสาท
ตาอย่างรวดเร็ว จอประสาทตาขาดเลือด สูญเสียการมองเห็น ปวดตามาก
สาเหตุ
มีการคั่งของน้ำเอเควียสจากมีโครงสร้างตาผิดปกต
ความผิดปกติของ trabecular meshwork ตั้งแต่ก าเนิด
• มีความเสื่อมของเนื้อเยื่อภายในลูกตา
การใช้ยาที่มีสารฮอร์โมนพวกคอร์ติโคสเตียรอยด์ติดต่อเป็นเวลานาน
มีต้อกระจกสุกหรือต้อกระจกสุกงอม
• เนื้องอกในลูกตา
อุบัติเหตุในตา
อาการและอาการแสดง
ต้อหินระยะเรื้อรัง
การรักษา
ควบคุมความ
ดันลูกตาให้อยู่ในระดับปกติพร้อมนัดมาตรวจเป็นระยะ ๆ
ต้อหินระยะเฉียบพลัน
บางคนมองเห็นแสงสีรุ้งรอบ ๆ ดวงไฟ
แพทย์มักให้ยาหยอดตา และยารับประทานทางปากหรือยา
ฉีด จนความดันลดลงสู่อาการปกติ การเห็นดีขึ้นจึงนัดผ่าตัดตามมา
การพยาบาลผู้ป่วยต้อหิน
หากมีอาการ ตาแดง น้ำตาไหล ปวดตามาก ตามัวลง หรือตาสู้แสง
ไม่ได้ให้มาตรวจก่อนวันนัด
เวลายิงจะไม่รู้สึกเจ็บภายใน 24
ชั่วโมงแรก หลังยิงเลเซอร์อาจมีอาการปวดศีรษะหรือตามัวลงเล็กน้อย
สอนวิธีการหยอดตาอย่างมีประสิทธิภาพ
แนะนำให้ใส่แว่น หลีกเลี่ยงการขยี้ตา หลังทำเลเซอร์
ต้อกระจก(Cataract)
สาเหตุ
เกิดจากสาเหตุอื่น ๆ (Secondary cataract)
โดนของมีคมทิ่มแทงทะลุตา
โรคเบาหวาน
โดนกระทบกระเทือน
อย่างแรงที่ลูกตา
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
ความผิดปกติโดยกำเนิด (Congenital cataract)
การเสื่อมตามวัย (Senile cataract) วัยชรา
ต้อกระจกที่สุกแล้ว (mature cataratc)
ระยะนี้เหมาะสม
กับการผ่าตัดมากที่สุด
เป็นระยะที่ตาขุ่นทั้งหมด
ต้อกระจกที่ยังไม่สุก (immature cataratc)
ทึบตรงส่วนกลาง
แก้วตา แต่ส่วนรอบ ๆ ยังใส ทำให้ยังคงมองเห็นอยู่บ้าง
ต้อกระจกที่สุกเกินไป (hypermature cataract)
ต้อกระจกที่สุก
มากจนขนาดเลนส์เล็กลงและมีเปลือกหุ้มเลนส์ที่ย่น หากปล่อยทิ้งไว้ตาจะบอดได้
อาการและอาการแสดง
มองเห็นภาพซ้อน
ตามัว ลงช้า ๆ โดยไม่รู้สึกเจ็บปวด
สายตาสั้นลง
เป็นภาวะแก้วตา (Lens) ขุ่นทำให้เกิดอาการตามัว มองเห็นภาพไม่ชัดเจน
การรักษา
Extracapsular cataract extraction (ECCE)
Phacoemulsification with Intraocular Lens (PE C IOL)
Intracapsular cataract extraction (IICE)
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดต้อกระจก (เมื่อกลับบ้าน)
เน้นกลางคืนปิดฝาครอบตา กลางวันใส่แว่นตาสีชาหรือสีดำ
จอประสาทตาลอก(Retinal detachment)
สาเหตุ
1.มีการเสื่อมของจอประสาทหรือน้ำวุ้นตา (vitreous)
2.การผ่าตัดเอาแก้วตาออกชนิด intracapsular cataract extractionได้ถึงร้อยละ 10-20
3.การได้รับอุบัติเหตุถูกกระทบกระเทือนบริเวณที่ตา
แบ่งเป็น 3 ชนิด ได้แก่
ชนิดที่เกิดจากรูหรือรอยฉีกขาดที่จอประสาทตา
(Rhegmatogenous retinal detachment)
ชนิดที่เกิดจากการดึงรั้ง (Tractional retinal
detachment)
ชนิดไม่มีรูขาดที่จอประสาทตา (Nonrhegmatogenous retinal detachment or exudative retinal
detachment)
อาการและอาการแสดง
มองเห็นแสงจุดดำหรือเส้นลอยไปลอยมา (floater)
มองเห็นแสงวูบวาบคล้ายฟ้าแลบ (flashes of light)
การรักษา
การผ่าตัดหนุนจอประสาทตา (Scleral buckling)
การผ่าตัดน้ำวุ้นลูกตา (Pars plana vitrectomy)
การฉีดก๊าซเข้าไปในตา (Pneumatic retinopexy)
การพยาบาล
ระยะหลังผ่าตัด
-ดูแลให้นอนคว่ำหน้าหรือนั่งคว่ำหน้าให้ได้อย่างน้อยวันละ 16
ชั่วโมง
(เมื่อกลับบ้าน)
ควรทำความสะอาดใบหน้าโดยใช้
ผ้าขนหนูชุบน้ำบิดหมาด ๆ เช็ดหน้าเบา ๆ เฉพาะข้างที่ไม่ได้ผ่าตัด
อุบัติเหตุทางตา(eye injury)
การรักษา
หากเกิดภาวะ corneal abrasion อาจได้รับการป้ายยา
terramycin ointment และปิดตาแน่น (pressure patch) ไว้ 24 ชั่วโมง
การรักษาด้วยการผ่าตัด ประกอบด้วยการขูดเซลล์กระจกตาที่ตาย
แล้วออก และอาจมีการปลูกถ่ายเยื่อหุ้มรกเพื่อปิดแผล
สำคัญที่สุดคือการล้างตาโดยเร็วที่สุดด้วยน้ำสะอาดปริมาณมากอาจมากกว่า 5 ลิตร
อันตรายจากสารเคมี(chemical injury)
อาการแสดง
-ปวดแสบปวดร้อนระคายเคืองตามาก
-การมองเห็นจะลดลงถ้าสารเคมีเข้าตาจำนวนมาก
สายตาสู้แสงไม่ได้ ทำให้ผู้ป่วยพยายามจะหลับตาตลอดเวลา
การพยาบาล
ดูแลบรรเทาอาการปวดกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการปวดตามาก
ล้างตาให้ผู้ป่วยโดยเร็วที่สุด โดยใช้ Normal saline หรือ sterile
water โดยใช้เวลาอย่างน้อย 30 นาท
เลือดออกในช่องหน้าม่านตา(Hyphema)
เกิดจากการได้รับบาดเจ็บจากวัตถุไม่มีคมบริเวณตา
ตรวจพบจากเครื่องมือแพทย์ที่เรียกว่า Slit lamp
ภาวะแทรกซ้อน
1.Rebleeding
2.Increase intraocular pressure
3.Blood stain cornea
การรักษา
ให้นอนศีรษะสูงประมาณ 30-45 องศา
ปิดตาทั้งสองข้าง
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด paracetamol และ diazepam เพื่อให้ได้
พักผ่อนและประเมินอาการปวดตาแต่หากเลือดไม่ถูกดูดซึม
การพยาบาล
แนะนำให้ผู้ป่วยนอนนิ่งๆ ไม่ควรลุกจาก
เตียงประมาณ 3 – 5วัน
ปิดตาทั้ง 2 ข้างที่มีเลือดออกด้วยผ้าปิดตา (eye pad) และที่
ครอบตา (eye shield) ไขหัวเตียงสูง 30-45 องศา
ความผิดปกติของจอประสาทตาจากโรคเบาหวาน(Diabetic retinopathy)
ปัจจัย
2.การควบคุมระดับน้ำตาล
3.การมีความผิดปกติที่ไตจากเบาหวาน
1.ความยาวนานของการเป็นโรคเบาหวาน
4.ความดันโลหิตสูง
5.โรคไขมันในเลือดสูง
6.การตั้งครรภ์
เบาหวานขึ้นตาแบ่งได้กว้างเป็น 2 ระยะ
1.เบาหวานระยะแรก (Non-Proliferation diabetic
retinopathy=NPDR)
2.เบาหวานระยะรุนแรง (Proliferation diabetic
retinopathy=PDR)
การรักษา
การฉีดยาเข้าในน้ำวุ้นตา (Intravitreal pharmacologic injection)
การผ่าตัดน้ำวุ้นตา (Vitrectomy)
การรักษาด้วยการยิงเลเซอร์ (Panretinal
photocoagulation=PRP)
การพยาบาล
2.ดูแลแนะนำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
3.ออกกำลังกาย รับประทานยาหรือฉีดยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
อย่างสม่ำเสมอ
แนะนำให้ผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาลให้คงที
แผลที่กระจกตา(Corneal ulcer)
สาเหตุ
4.ตาปิดไม่สนิทขณะหลับ (Lagophthalmos)
5.ความผิดปกติบริเวณหนังตา
3.มีความผิดปกติของกระจกตา
2.กระจกตามีภูมิต้านทานต่อเชื้อโรคต่ำ
6.โรคทางกายที่ทำให้ภูมิคุ้มกันทั้งร่างกายบกพร่องลง
1.อุบัติเหตุ (trauma)
7.การใส่เลนส์สัมผัส (Contact lens)
อาการและอาการแสดง
กลัวแสง (photophobia)
เคืองตา (foreign body sensation)
น้ำตาไหล (lacrimation)
ปวดตา (pain)
ตาแดงแบบใกล้ตาดำ
(ciliary injection)
ตาพร่ามัว (blur vision)
กระจกตาขุ่น (hazy cornea)
อาจพบหนองในช่องหน้าม่านตา
การรักษา
1.หาเชื้อโรคที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ
2.กำจัดสาเหตุที่ทำให้เกิดแผลบริเวณกระจกตา
ความผิดปกติบริเวณหนังตา
ภาวะขนตาทิ่มแทงตา
ภาวะตาปิดไม่สนิทขณะหลับ
3.ส่งเสริมให้เกิดการแข็งแรงของร่างกาย
4.บรรเทาอาการปวดโดยให้รับประทานยาแก้ปวด paracetamol
การพยาบาล
แยกเตียง ของใช้ และยาหยอดตาของผู้ป่วยใช้เป็นส่วนตัวป้องกันการแพร่กระจายเชื้อสู้ผู้อื่น
เช็ดตาวันละ 1-2 ครั้ง ครอบเฉพาะพลาสติกครอบตา (Eye
shield) ไม่ต้องปิดผ้าปิดตา (Eye pad)
หยอดตาตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัด
แนะนำผู้ป่วยห้ามขยี้ตา อย่าให้น้ำเข้าตา
5.ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนและได้รับอาหารที่เพียงพอ
6.ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันภาวะพรากความรู้สึก
หู
กายวิภาคของหู
หูชั้นกลาง ประกอบด้วย
กระดูกค้อน(malleous)
กระดูกทั่ง(incus)
กระดูกโกลน(stapes)
หูชั้นใน ประกอบด้วย
Bony labyrinth
vestibule
semicircular canal
cochlea
Membranous labyrinth
cochlear duct
utricle
saccule semicircular
หูชั้นนอกประกอบด้วย
รูหู(canal)
แก้วหู(ear drum)
ใบหู(auricle)
กลไกการได้ยินมี 2 ทาง
การได้ยินเสียงผ่านกระดูก (bone conduction
pathway)
การได้ยินเสียงผ่านทางอากาศ (Air conduction
pathway)
การตรวจวินิจฉัยความผิดปกติของหู
1.การซักประวัติผู้ป่วยมีอาการหลัก 5ประการ คือ
อาการปวดหู(otalgia)
มีของเหลวไหลจากหู(otorrhea)
อาการหูอื้อ ได้ยินเสียงลดลง(hearing loss)
มีเสียงดังในหู(tinnitus)
มีอาการเวียนศรีษะ(dizziness or vertigo)
2.การตรวจร่างกาย
ตรวจดูหูภายนอก
มีอาการ ปวด บวม แดง หรือไม่
ตรวจช่องหู(otoscopy)
ตรวจดูเยื่อแก้วหู(tympanic membrane)
ตรวจหูแล้วไม่พบสิ่งผิดปกติ ให้ตรวจศรีษะและคอด้วย
การตรวจพิเศษอื่นๆ
ถ่ายภาพรังสีของหู คอจมูก
CT scan
MRI
การนัดตรวจซำ้เป็นระยะๆ
การตรวจพิเศษด้วยเครื่องมือ
การทดลองการได้ยินเสียง นิยมตรวจ
Tuning fork test การตรวจโดยใช้ส้อมเสียง
การแปลผล : Weber Test
เป็นการทดสอบ Cochlear function
คนปกติจะได้ยินเท่ากัน 2ข้าง
การตรวจเพื่อวินิจฉัยผู้ป่วยที่มี
ปัญหาการนําเสียงบกพร่อง
การแปลผล: Rine Test
positive คือ ได้ยินทางหน้าหูดีกว่าหลังหู
negative คือ ได้ยินทางหลังหูดีกว่าหน้าหู
การคัดกรองโดยจําแนกประเภทของการสูญเสีย
การได้ยิน
Audiometry เครื่องตรวจการได้ยินชนิดไฟฟ้า
การตรวจโดยการใช้คำพูด(Speech Audiometry)
Speech reception threshold(SRT)
Speech discrimination
การตรวจ Vestibular function test
Unterberger's test
Gait test
Romberg's test
5.การตรวจ Nystagmus
คืออาการตากระตุก โดยการทํา Head
Shaking
การสูญเสียการได้ยิน(Hearing loss)
ประเภท
แบบการนําเสียงทางอากาศบกพร่อง(Conductive Hearing Loss; CHL)
แบบประสาทหูเสื่อม
(Sensorineural Hearing Loss; SNHL)
การรับฟังเสียงบกพร่องแบบผสม (Mixed Hearing Loss)
ความบกพร่องที่สมองส่วนกลาง (Central Hearing Loss)
สาเหตุการสูญเสียการได้ยินที่พบบ่อย
ประสาทหูเสื่อมSNHL
เป็นตั้งแต่กําเนิด(Congnital Sensorineural Hearing
Loss)
ประสาทหูเสื่อมที่เกิดภายหลัง
(Acquired Sensorineural Hearing
Loss)
Presbycusis พบในคนชรา
เกิดจากเสียงดังมาก
เกิดจากยากลุ่ม Aminoglycoside,
salicylate, diuretics
Infection ติดเชื้อจากหูชั้นใน น้ําไขสันหลัง การติดเชื้อหูชั้นกลาง
Meniere's disease หรือ endolymphatic hydro
Tumor
Trauma
Vascular cause
Autoimmune
Sudden sensorineural hearing loss
การนําเสียงทางอากาศบกพร่อง CHL
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
อาการร่วม
น้ําออกหู
ปวดหู
เวียนหัวบ้านหมุน
คันหู
ประวัติในอดีต
การใช้ยาที่มีพิษต่อหู
อุบัติเหตุที่ศีรษะ
การผ่าตัดใบหู
ประวัติบุคคลในครอบครัวมีหูหนวก เป็นใบ้
อาการนํา
หูอื้อ
เสียงดังในหู
การได้ยินลดลง
2.การตรวจร่างกาย
การตรวจทางระบบประสาท
การตรวจการได้ยินด้วยส้อมเสียง (Tuning fork)
การตรวจทางร่างกายทางหู คอ จมูก
โรคที่พบบ่อยจากการได้ยินและการทรงตัว
โรคหูชั้นนอก
ขี้หูอุดตัน (Cerum Impaction or Impacted Cerumen)
สาเหตุ
การมีปริมาณขี้หูที่มากในช่องหูทำให้เกิดการอุดตัน
อาการแสดง
ปวดหู
หูอื้อ
การรักษา โดยการล้าง ใช้เครื่องดูดหรือการใช้เครื่องมืออื่น ๆ ช่วย
สิ่งแปลกปลอดในหูชั้นนอก (Foreign body)
อาการ
รําคาญ
สูญเสียการได้ยิน
หูอื้อ
บางรายมีอาการมึนงงเวียนศีรษะจนถึงอัมพาตของใบหน้า
การรักษา
สิ่งมีชีวิตใช้แอลกฮอล์70% หรือยาหยดประเภทน้ํามัน
หยอดลงไป แล้วคีบออก
สิ่งไม่มีชีวิต ใช้น้ําสะอาดหรือเกลือปราศจาก
เชื้อหยอดจนเต็มหูแล้วเทน้ําออก ถ้าเป็นของแข็งใช้
เครื่องมือแพทย์คีบออก
สาเหตุ ในเด็กเล็กมักพบของเล่นชิ้นเล็ก ลูกปัด หรือเมล็ดผลไม้เด็กยัดใส่ รูหู ทําให้เกิดอาการติดเชื้อ จนถึงอาการเยื่อแก้วหูทะลุได้
เยื่อแก้วหูฉีกขาดเป็นรูทะลุ
การรักษา
ทิ้งไว้เฉยๆอย่าชะล้าง
ไม่ต้องเอาลิ่มเลือดออก
อาการต่างๆจะหายเองภายใน1-2เดือน
อาการ
สูญเสียการได้ยิน
มีเสียงดังที่หู
เจ็บปวดเฉียบพลัน
เวียนศรีษะ
โรคหูนำ้หนวก
เป็นภาวะที่มีการขังค้างของเหลวอยู่ในหูชั้นกลาง
ชนิดของโรค
2.Serous otitis
4.Adhesive otitis media
1.Acute otitis media
อาการ
รู้สึกเหมือนมีนำ้ขังอยู่ในหูตลอดเวลา
เยื่อแก้วหูนูนโป่งมีอาการปวดร่วมด้วย
สูญเสียการได้ยิน
การรักษา
ปรับความดันของหูชั้นกลางให้ปกติ
การให้ยาแก้แพ้ยาลดอาการคัดแน่นจมูกร่วมกับยาปฏิชีวนะ
ทำ Valsava maneuver และ Politzerisation
การทำ Myringostomyในรายที่ทานยาไม่ได้ผล
แนะนำหลังทำ
3 more items...
สาเหตุ
ท่อยูสเตเชียนอุดตัน
เพดานโหว่
เป็นหวัด คัดจมูก คออักเสบ
เด็กที่ถูกเลี้ยงดูด้วยขวดนม
ขณะเครื่องบินลง เกิดภาวะ Barotrauma
3.Chronic otitis media
สาเหตุ เกิดจากภาวะที่มีการรักษาไม่หายขาดของหูชั้นกลางอักเสบ
อาการ
เยื่อแก้วหูทะลุ
มีนำ้หนองไหล
หูอื้อ
บางรายสูญเสียการได้ยิน
การรักษา
1.การรักษาทางยา ปฏิชีวนะ ยาแก้ปวด ยาลดอาการคัดจมูก
ทำ Tympano-Mastoidectomy
อาจทำให้เกิดภาวะอัมพาตของใบหน้า
โรคหูชั้นกลาง
โรคหินปูนเกาะฐานกระดูกโกลน
สาเหตุ
อาจเกิด Measle virus
ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
อาการ
เวียนศีรษะบ้านหมุน
สูญเสียการได้ยินแบบCHL
หูอื้อ
พยาธิสภาพ มีการเพิ่มของ osteoblastic
และ osteoclasvtic activity
การบาดเจ็บจากแรงดันต่อหู otitis barotrama
สาเหตุ จากผลการเปลี่ยนแปลงความดันอากาศ
หรือความดันในหูชั้นกลางและโพรงกกหู
อาการ
แน่นหู
สูญเสียการได้
ยินแบบCHL
ปวดหู
การผ่าตัดหู
การตกแต่งหูชั้นกลาง
การผ่าตัดMastoidectomy
การผ่าตัดตกแต่งแก้วหู
การผ่าตัดเปิดเข้าไปในหูชั้นกลางเพื่อดูว่าจะทำอะไรต่อ
การผ่าตัด Stapedectomy
การผ่าตัดซ่อมแซมกระดูกหูในช่องหูชั้นกลาง ossiculoplasty
การดูแลผู้ป่วยหลังการผ่าตัดกระดูกหู
ในรายผ่าตัดstapedectomy ห้ามก้มมากๆ
ห้ามการออกแรงยกของหนักมากๆนาน 2สัปดาห์
คำแนะนำหลังผ่าตัด
ห้ามสั่งนำ้มูก 2-3สัปดาห์
หลังผ่าตัด 2สัปดาห์ ดูแลอย่าให้นำ้เข้าหู
เวลาไอจามควรเปิดปากทุกครั้ง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลผู้ป่วย
2.ปวดเนื่องจากการชอกชำ้ของเนื้อเยื้อจากการผ่าตัด
4.เสี่ยงอันตรายจากภาวะบาดเจ็บ เนื่องจากไม่สามารถควบคุมการรงตัวได้
1.เกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัด
3.เสี่ยงการติดเชื้อจากการผ่าตัด
โรคหูชั้นใน
โรคหินปูนในหูชั้นในหลุด โรคเวียนหัวขณะเปลี่ยนท่า
สาเหตุ
อุบัติเหตุบริเวณศีรษะ
การติดเชื้อ
ความเสื่อมตามวัย
อาการ
รู้สึกโครงเครง
เวียนศีรษะบ้านหมุน
สูญเสีย
การทรงตัว
พูดไม่ชัด
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย
การสืบค้นเพิ่มเติม
การตรวจการได้ยิน
การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ให้ยาบรรเทาอาการเวียน
ศีรษะ
การทํากายภาพบําบัด
เพื่อเคลื่อนตะกอนหินปูน
การผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
เวียนศีรษะมากอาจล้มได้
ไม่ควรดําน้ํา
ปีนป่าย
ที่สูง
ควรรีบนั่งลง
อาเจียนมาก
การปฏิบัติตัวป้องกันไม่ให้เกิดอาการกําเริบ
เวลาทําอะไรควรทําอย่างช้า ๆ
หลีกเลี่ยงการก้มเก็บสิ่งของ
เวลานอนควรนอนหนุนหมอนสูง
โรคนำ้ในหูไม่เท่ากันMeniere's disease
การรักษา
หลีกเลี่ยงชา คาเฟอีน บุหรี่ ความเครียด
การกินยาขยายหลอดเลือด ฮิสตามีน
จํากัดความเค็ม
อาการ
มีเสียงดังในหู
อาการเวียนศีรษะ บ้านหมุน
ประสาทหูเสื่อม
การวินิจฉัยการพยาบาล
2.วิตกกังวลจากการมีเสียงดังในหู
3.นอนพักผ่อนไม่เพียงพอเนื่องจากวิตกกังวล
1.เสี่ยงต่ออันตรายจากอุบัติเหตุ
4.ขาดความรู้ในการปฏิบัติตนเมื่อมีอาการ
การปฏิบัติพยาบาล
ขณะมีอาการเวียนศรีษะควรนอนพักนิ่งๆ บนเตียง
จัดสิ่งแวดล้อมต่างๆให้เหมาะสมช่วยให้ผู้ป่วยสามารถพักผ่อนสบายมากยิ่งขึ้น
ให้คำแนะนำไม่ควรทำงานที่หนักเกินไป
ประสาทหูเสื่อมฉับพลัน
สาเหตุ
อาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัส
อาจเกิดจากความเครียดทําให้หลอด
เลือดแดงหดตัวฉับพลัน
อาจเกิดมาจากการเบ่ง
ถ่าย ไอ จามแรง ๆ
บาดเจ็บที่ศีรษะอาจทําให้เกิดการรั่วของน้ําในหูชั้นใน
อาการ
หูอื้อ
การได้ยินลดลงอย่างฉับพลัน
เวียนศีรษะร่วมด้วย
การรักษา
ยาขยายหลอดเลือด
ยาวิตามิน บํารุงประสาทหูที่เสื่อม
ยาลดอาการเวียนศีรษะ (ถ้ามีอาการ)
การนอนพัก
หลีกเลี่ยงยาที่มีพิษต่อหู
ลดอาหารเค็มเครื่องดื่มที่มีการกระตุ้นระบบประสาท
หลีกเลี่ยงเสียงดัง
หูตึงเหตุจากสูงอายุ
การรักษา
ใช้
เครื่องช่วยฟังเป็นหลัก
การจํากัดแคลอรี่ช่วยลดปริมาณไขมันในร่างกาย
พยาธิสภาพ
มีการลดลงของ Sensory cells และ Supporting cells
มีการแข็งตัวของ basilar membrane
จมูก
กลไกการได้กลิ่น
โมเลกุลในอากาศ
ช่องโพรงจมูก
สัมผัสกับขนของเซลล์รับความรู้สึก
ไปไซแนปส์กับ Olfactory cell
เปลี่ยนกลิ่นเป็นกระแสประสาท
วิ่งไปตาม Olfactory nerve
Olfactory bulb
1 more item...
เป็นอวัยวะรับสัมผัสกลิ่น เช่น
กลิ่นอาหาร
สารเคมีอื่นๆ
เลือดกำเดา(Epistaxis)
สาเหตุ
การมีสิ่งแปลกปลอมเข้าไป
การมีเนื้องอกในช่องจมูก
การได้รับบาดเจ็บ
ความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด
อาการ
เลือดออกจากผนังกั้นจมูกส่วนหน้า
(Anterior Epistaxis)
การรักษา
การใช้สารเคมีหรือไฟฟ้าจี้สกัดจุดที่มีเลือดออก
การใช้ Anterior nasal packing
2.เลือดออกจากผนังกั้นจมูกส่วนหลัง
(Posterior Epistaxis)
การรักษา
Posterior nasal packing
Arterial ligation
Arterial Embolization
Laser photocoagulation
5.Skine graft to nasal septum and lateral nasal wall
การพยาบาลหลังการรักษา
จัดท่านอนศีรษะสูง 45-60 องศา
ห้ามดึงผ้าก็อซออกเอง
อธิบายให้ทราบว่าอาจมีอาการหูอื้อได้
แนะนำให้อ้าปากเวลา ไอ จาม
ภายหลังการนำเอาตัวกดเลือดออก ควรนอนนิ่งๆก่อน 2-3ชม ห้ามยกของหนัก การออกกำลังกายที่ใช้แรงมากอย่างน้อย 4-6 week
ริดสีดวงจมูก(Nasal polyp)
สาเหตุ
การเป็นหวัดเรื้อรัง
การติดเชื้อเยื่อจมูก
หวัดจากการแพ้
อาการ
หายใจไม่สะดวก
พูดเสียงขึ้นจมูก
แน่นจมูก
นำ้มูกมีหนอง
คันจมูก
อาการแทรกซ้อน
ไซนัสอักเสบ
แน่นจมูกน่ารำคาญ
การรักษา
Medical polypectomy
surgical polypectomy
nasal polyp
antrochonal polyp
Sinusitis
มี 4คู่ ได้แก่
frontal sinus
ethmoidal sinus
maxillary sinus
sphenoidal sinus
สาเหตุ
สภาพของจมูก เข่น
เนื้องอกในจมูก
การอักเสบในจมูก
สุขภาพทั่วไปไม่ดี เช่น
เป็นโรคเลือด เบาหวาน
ภูมิคุ้มกันตำ่
ถูกฝุ่นจำนวนมาก
อาการ
คัดจมูก
หนองไหลจากจมูก
ปวดกดเจ็บโพรงจมูก
การรักษาให้ยาปฏิชีวนะและยารักษาตามอาการ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เกิดความเจ็บปวดในการผ่าตัด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อจาการมีของเหลวคั่งในจมูก
เสี่ยงต่อการพร่องสารนำ้เนื่องจากมีการเสียเลือดทางจมูก
เกิดภาวะการหายใจไม่มีประสิทธิภาพ
การพยาบาลหลังผ่าตัด
จัดท่านอนศีรษะสูง 40-45 องศา
ประคบจมูกด้วยความเย็น
หลีกเลี่ยงการแปรงฟันบริเวณแผล
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกาย การยกของหนัก
ภายใน 10-14วันหลังผ่าตัด
ไม่ควรไอจามแรงๆ
ช่องปากและลำคอ
Tonsillitis + Adenoiditis
สาเหตุ
ไวรัส
ต่อมทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน
แบคทีเรีย Staphylococi
อาการ
2.อาการของช่องหูชั้นกลางอักเสบ
3.การพูดเสียงขึ้นจมูก
1.อาการหายใจทางปาก
4.ไข้ ไอ เจ็บคอ กลืนลำบาก
การผ่าตัด
มีการเกิดฝีรอบทอนซิล
มีอาการกลืนลำบากมาก
มีการกลับเป็นซำ้
มีภาวะบวมโตของต่อม ขัดขวางการหายใจ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเสียเลือด
เสี่ยงภาวะการอักเสบติดเชื้อ
เกิดภาวะพร่องสารนำ้
เสี่ยงอันตรายจากภาวะแทรกซ้อน
ปวดแผลบริเวณที่ทำการผ่าตัด
การพยาบาลหหลังการผ่าตัด
อธิบายอาจมีอาการเจ็บคอ คอแข็ง อาเจียน เจ็บคอ ปวดหู นาน7วันหลังผ่าตัด
แนะนำงดการใช้เสียงการทำงานหรือกิจกรรมที่ต้องออกแรง
ไม่ควรรับประทานรสเปรี้ยวเผ็ดหรือร้อน
หลีกเลี่ยงแหล่งชุมชนในช่วง7วันแรก
แนะนำให้รับประทานของเย็นเพื่อลดอาการบวมในลำคอ เช่น
นำ้เย็น
การเคี้ยวหมากฝรั้ง
ไอศกรีม