Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีสนามของเลวิน - Coggle Diagram
ทฤษฎีสนามของเลวิน
แนวคิดทฤษฎีสนาม
Kurt Lewin เสนอ แนวคิดทฤษฎีสนามว่า หมายถึง ความสามารถที่จะวิเคราะห์แรงต่าง ๆ ที่มีอยู่ในสภาวะการที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลง เป็นความพยายามที่จะให้กลุ่มเกิดการเปลี่ยน โดยแรงต่าง ๆ มีอิทธิพลต่อกันและกันจากแนวความคิดของLewin เชื่อว่า พฤติกรรมเป็นผลของแรง 2 ประเภท ซึ่งมีบทบาทตรงข้างกัน คือ แรงต้าน และ แรงเสริมให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การนำทฤษฎีสนามไปประยุกต์ใช้อย่างถูกต้องจะช่วยให้เข้าใจพฤติกรรมมากขึ้น การจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ใช้ 3 กลวิธี ดังนี้(นุชนาถ)
- เพิ่มขนาดของแรงเสริม(นุชนาถ)
-
- เพิ่มขนาดของแรงเสริม ขณะเดียวกันก็ลดขนาดของแรงต้าน(นุชนาถ)
-
- ละลายพฤติกรรมเดิม(นุชนาถ)
- การวิเคราะห์ปัญหา(นุชนาถ)
-
- การมีพฤติกรรมใหม่(นุชนาถ)
- การทำให้พฤติกรรมใหม่นั้นคงอยู่(นุชนาถ)
แนวคิด
พฤติกรรมเป็นผลของแรง 2 ประเภท ซึ่งมีบทบาทตรงข้างกัน คือ แรงต้าน และ แรงเสริมให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การนำทฤษฎีสนามไปประยุกต์ใช้อย่างถูกต้องจะช่วยให้เข้าใจพฤติกรรมมากขึ้น การจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ใช้ 3 กลวิธี ดังนี้ (Norasleen),(ประภาวัลย์)(นุชนาถ)
- เพิ่มขนาดของแรงเสริม (Norasleen)
- ลดขนาดของแรงต้าน (Norasleen)
- เพิ่มขนาดของแรงเสริม ขณะเดียวกันก็ลดขนาดของแรงต้าน (Norasleen)
ทฤษฎี
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้เช่นเดียวกบักลุ่มเกสตัลท์ ที่ว่า การเรียนรู้ เกิดขึ้น จากการจัดกระบวนการรับรู้ และกระบวนการคิดเพื่อการแก้ไขปัญหาแต่เขาได้ นำเอาหลักการทางวิทยาศาสตร์มาร่วมอธิบายพฤตกิรรมมนษุย์เขาเชื่อว่าพฤติกรรมมนษุย์แสดงออกมาอย่างมี พลังและทิศทาง (Field of Force) สิ่งที่อยู่ในความสนใจและต้องการจะมีพลังเป็นบวก ซึ่งเขาเรียกว่า Life space สิ่งใดที่อยู่นอกเหนือความสนใจจะมีพลังเป็นลบ (ประภาวัลย์)
รูปแบบการสอน
.การจัดรูปแบบการเรียนการสอนจะใช้ทฤษฎีทางจิตวิทยากลุ่มมนุษยนิยม มาใช้ในการจัดรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ทฤษฎีของ เลวิน (Lawin) ทฤษฎีสนาม มาใช้โดยการให้นักเรียนได้ทำกิจกรรมกลุ่ม ได้เรียนรู้กับเพื่อนๆในกลุ่ม เป็นการเรียนแบบร่วมมือเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน สามารถสรุปใจความสำคัญของทฤษฎีสนามเพื่อนำมาใช้ในการจัดกิจกรรมกลุ่ม (ประภาวัลย์)