Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีความวิตกกังวลและความเคร…
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีความวิตกกังวลและความเครียด
ความหมาย
ความรู้สึกไม่สบาย สับสน กระวนกระวายกระสับกระส่าย หรือตื่นตระหนกต่อสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตและเกรงว่าจะเกิดอันตรายหรือความเสียหายซึ่งอาจเกิดขึ้นจริงหรือคิดขึ้นเองจากสิ่งที่ไม่รู้ ไม่แใจ ซึ่งบอกไม่ได้ชัดเจน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและพฤติกรรม
ความหมาย ลักษณะอาการและอาการแสดง การตอบสนองของความเครียด
ลักษณะอาการและอาการแสดงของบุคคลที่มีความเครียด
2) การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ สังคม ได้แก่ วิตกกังวล โกรธง่าย หงุดหงิด ซึมเศร้า ท้อแท้ การตัดสินใจไม่ดี
ด้านสัมพันธภาพ หรือไม่มีความสุขกับชีวิต เป็นต้น
3) การเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรม ได้แก่ ร้องไห้ กัดเล็บ ดึงผมตัวเอง รับประทานอาหารเก่ง ติดบุหรี่ สุรา ก้าวร้าว
1) การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย ได้แก่ มึนงง ปวดศีรษะ หูอื้อ มีเสียงด้งในหู ปวดตามกล้ามเนื้อ อ่อนแรงไม่อยากทำอะไร
การตอบสนองของบุคคลต่อความเครียด
1) การตอบสนองด้านร่างกาย
• ระยะช็อก (shock phase)
• ระยะตอบสนองการช็อก (counter shock phase shock phase)
ระยะเตือน (alarm reaction)
2) การตอบสนองด้านจิตใจ
หนี หรือเลี่ย (flight)
ยอมรับและเผชิญกับความครียด (fight)
ความเครียด หมายถึง ปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายและจิตใจที่มีต่อสิ่งกระตุ้น
ชนิด ระดับของความวิตกกังวลและความเครียด
ระดับของความวิตกกังวล (level of anxiety)
2) ความวิตกกังวลปานกลาง (moderate anxiety) +2
3) ความวิตกกังวลรุนแรง (severe anxiety) +3
1) ความวิตกกังวลต่ำ (mild anxiety) +1
4) ความวิตกกังวลท่วมท้น (panic anxiety) +4
ชนิดของความวิตกกังวล
1) ความวิตกกังวลปกติ (normal anxiety)
2) ความวิตกกังวลเฉียบพลัน (acute anxiety)
3) ความวิตกกังวลเรื้อรัง (chronic anxiety)
ชนิดของความเครียด
2) ความเครียดเรื้อรัง (chronic stress)
2) ความเครียดระดับปานกลาง (moderate stress)
แบบประเมิน ST 20 ระดับคะแนน 24 - 41 คะแนน
3) ความเครียดระดับสูง (high stress)
แบบประเมิน ST 20 ระดับคะแนน 42 - 61 คะแนน
1) ความเครียดระดับต่ำ (mild stress)
แบบประเมิน ST 20 ระดับคะแนน 0 - 23 คะแนน
4) ความเครียดระดับรุนแรง (severe stress)
แบบประเมิน ST 20 ระดับคะแนน 62 คะแนนขึ้นไป
1) ความเครียดฉับพลัน (acute stress)
สาเหตุของบุคคลที่มีความวิตกกังวลและความเครียด
สาเหตุทางด้านจิตสังคม
ด้านจิตวิเคราะห์
ด้านพฤติกรรมและการรู้คิด
สาเหตุทางด้านสังคม
สาเหตุทางด้านชีวภาพ
ด้านชีวเคมี
ด้านการเจ็บป่วย
ด้านกายภาพของระบบประสาท
การตอบสนองของบุคคลต่อความวิตกกังวล
2) พฤติกรรมชะงักงันหรือถดถอย
3) มีการเจ็บป่วยทางกาย
1) พฤติกรรมที่แสดงออกถึงการต่อสู้
4) มีพฤติกรรมเผชิญความวิตกกังวลในเชิงสร้างสรรค์
ลักษณะอาการและอาการแสดงของบุคคลที่มีความวิตกกังวล
2) การเบลี่ยนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์
ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง
มองตนเองไร้ค่า สับสน กระวนกระวาย
บุคคลจะมีความรู้สึกหวาดหวั่น กลัว
ตกใจง่าย หงุดหงิด เจ้ากี้เจ้าการ โกรธง่าย ก้าวร้าว
เศร้าเสียใจง่าย ร้องไห้ง่าย เมื่อเกิดเรื่องเพียงเล็กน้อย
3) การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
บุคคลจะขาดความสนใจ ขาดความคิดริเริ่ม
รู้สึกว่าช่วยเหลือตนเองไม่ได้
มีปัญหาเรื่องสัมพันธภาพกับผู้อื่น มีพฤติกรรมเรียกร้องมากเกินไป
1) การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจ จะมีอาการสะอีก หายใจเร็ว หายใจลำบาก
ระบบทางเดินอาหาร จะมีอาการกลืนลำบาก ปากแห้ง ท้องอืด ท้องเฟ้อ อึดอัดแน่นท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย ท้องเดิน
ระบบหัวใจและหลอดเลือด จะมีภาวะหัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ เจ็บหน้าอก ใจสั่นความดันโลหิตสูง หน้าแดง
ระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์ จะมีอาการปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะไม่สุด มีการเปลี่ยนแปลงในรอบเดือน ความรู้สึกทางเพศลดลง
ระบบประสาท จะมีอาการปวดศีรษะจากความเครียด ตาพร่า หูอื้อ ปากแห้ง เหงื่อออก มือสั่น รูม่านตาขยาย
4) การเปลี่ยนแปลงด้านสติปัญญา
การพูดติดขัด เปลี่ยนเรื่องพูดบ่อยหรือไม่พูดเลย การรับรู้และการตัดสินใจผิดพลาด มีความคิดและการกระทำซ้ำๆ
การพูดติดขัด เปลี่ยนเรื่องพูดบ่อยหรือไม่พูดเลย การรับรู้และการตัดสินใจผิดพลาด มีความคิดและการกระทำซ้ำๆ
การพยาบาลบุคคลที่มีความวิตกกังวลและความเครียด
กิจกรรมการพยาบาล
ให้กำลังใจโดยอาจสัมผัสผู้ป่วยเบา ๆ
นำผู้ป่วยออกจากสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความวิตกกังวล
ใช้คำพูดง่าย ๆ ข้อความสั้น ๆ กะทัดรัดได้ใจความตรงไปตรงมา
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบลดสิ่งกระตุ้นผู้ป่วย
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วย
ดูแลเอาใจใส่ผู้ป่วยที่มีอาการทางกาย
ดูแลป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยและบุคคลอื่น
ให้ความช่วยเหลือดูแลและกระตุ้นให้ผู้ป่วยสนใจเรื่องสุขภาพอนามัยของตนเอง
ผู้ป่วยที่ไม่มีสมาธิ ลังเล ตัดสินใจไม่ได้ ควรพยายามให้ผู้ป่วยใช้ความคิด และ
การตัดสินใจง่าย ๆ
ายงานแพทย์เพื่อให้ได้รับยาลดความวิตกกังวล
ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ปวยรู้สึกผ่อนคลายได้มากขึ้น
ผู้ป่วยสามารถแยกแยะและประเมินระดับความวิตกกังวลของตนเองได้
ผู้ป่วยสามารถบอกถึงความรู้สึกวิตกกังวลที่มีต่อตนเองและผู้อื่นได้
ผู้ป่วยสามารถอธิบายเชื่อมโยงผลของควมวิตกังวลที่มีต่อตนเองและผู้อื่นได้
ผู้ป่วยสามารถบอกวิธีการที่เหมาะสมในการแก้ไขความวิตกกังวลได้
ผู้ป่วยสามารถแสวงหาแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมเพื่อลดความวิตก
การประเมินสภาวะเครียด
การประเมินความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เมื่อมีกังวลเกิดขึ้น
การประเมินระดับความรุนแรงของความวิตกกังวล
การประเมินสาเหตุของความวิตกกังวลและวิธีการผชิญกับภาวะวิตกกังวล จากการซักประวัติจากผู้ป่วยและบุคคลใกล้ชิด รวมทั้งการสังเกตพฤติกรรมในขณะนั้น
ประเมินสมรรถภาพและองค์ประกอบในด้านอื่น ๆของผู้ป่วย
การวินิจฉัยการพยาบาล
เป้าหมายระยะสั้น
เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยให้กลับปกติ
เป้าหมายระยะยาว
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รู้และเข้าใจถึงเหตุและผลของความวิตกกังวล
เพื่อให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้วิธีลความวิตกกังวลที่สร้างสรรค์ เพื่อลดความถี่ของการเกิดความวิตกกังวล
เพื่อปรับบุคลิกภาพและการใช้กลไทางจิตให้เหมาะสม
เพื่อขจัดความขัดแย้งและบรรเทาประสบการณ์ที่เจ็บปวดให้กับผู้ป่วย