Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาหญิงตั้งครรภ์ที่มีความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์ (Pregnancy…
กรณีศึกษาหญิงตั้งครรภ์ที่มีความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์
(Pregnancy Induced Hypertension : PIH)
ความหมาย
กลุ่มความผิดปกติที่มีความดันโลหิตสูง(ตั้งแต่140/90 mmHg)ร่วมกับอาจมีโปรตีนในปัสสาวะ, อาการบวม และรุนแรงจนชัก
ประเภท
Pre eclampsia
Mild preeclampsia
BP ตั้งแต่ 140/90 ร่วมกับมีอาการบวมและมีโปรตีนในปัสสาวะ
Severe preeclampsia
BP ตั้งแต่ 160/110 ร่วมกับมีอาการบวม, มีโปรตีนในปัสสาวะ และอาจมีอาการชักร่วมด้วย
Eclampsia
สาเหตุ
การขาดสารอาหาร
การหดเกร็งของเส้นเลือด
พันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงของผนังหลอดเลือดชั้นใน
กลไกการสร้างภูมิคุ้มกัน
ปัจจัยเสี่ยง
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ มักพบในครรภ์แรก
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ พบในอายุน้อยกว่า 21 ปี และอายุมากกว่า 35 ปี
บุคคลในครอบครัวมีภาวะความดันโลหิตสูง
เป็นโรคเบาหวานหรือโรคไต
ครรภ์แฝด
ครรภ์ไข่ปลาอุก
ทารกบวมน้ำ
หญิงตั้งครรภ์ที่มีการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
พยาธิสภาพ
หลอดเลือดตีบ จึงทำให้การไหลเวียนของเลือดไม่ดี หัวใจจึงต้องเพิ่มแรงดันในการบีบตัว
1.ระบบประสาท
สมอง
ปวดศีรษะ
ตา
ภาพเบลอ ภาพซ้อน
กล้ามเนื้อ
Hyperreflexia
2.ระบบหัวใจหลอดเลือด
3.ระบบโลหิตวิทยา
ตับ
HELLP Syndrome
Hemolysis of red blood cell
Elevated liver enzymes
Low platelete count
ไต
ผลต่อมารดา
สมอง
ตา
ตับ
ไต
หัวใจ
ผลต่อทารก
รกเสื่อม
แท้ง
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้า
การรักษา
1.เน้นให้แม่พักผ่อนเยอะๆ
2.ให้ยาตามแผนการรักษา
ยารักษาความดันโลหิต
ยากันชัก
MgSo4
กรณีศึกษา
หญิงตั้งครรภ์อายุ 17 ปี น้ำหนัก 65 กิโลกรัม ส่วนสูง 142 เซนติเมตร G1P0Ab0L0GA 38+5 สัปดาห์ by Ultrasound ฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลบ้านหมี่ เมื่ออายุครรภ์ 34 สัปดาห์ ฝากครรภ์จำนวน 2 ครั้ง ไม่มีอาการผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์ LMP วันที่ 11 มกราคม 2559 EDC วันที่ 18 ตุลาคม 2559 By LMP