Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือดูแลเบื้องต้น แก่ผู้ที่มีปัญหาด้านสุขภาพจิต - Coggle Diagram
การช่วยเหลือดูแลเบื้องต้น
แก่ผู้ที่มีปัญหาด้านสุขภาพจิต
ผู้ที่มีภาวะสูญเสีย
ปัจจัยที่มีผลต่อการสูญเสีย
ประสบการณ์การสูญเสีย
บุคลิกภาพและความพร้อม
แหล่งสนับสนุนทางครอบครัวและสังคม
ความรู้สึกต่อสิ่งที่สูญเสีย
ประเภทของการสูญเสีย
การสูญเสียบุคคลสำคัญในชีวิต
การสูญเสียความสมบูรณ์ทางสรีระ
จิตใจและสังคม
การสูญเสียสมบัติหรือความเป็นเจ้าของ
ความหมาย
สภาพการณ์ที่บุคคลต้องแยกจาก สูญหาย
หรือปราศจากบางสิ่งบางอย่างที่เคยมีอยู่ในชีวิต
อาจเกิดขึ้นทันทีทันใดหรือค่อยเป็นค่อยไป
ความทุกข์โศก
กระบวนการ
ทุกข์โศกปกติ
ระยะเฉียบพลัน
ช็อคและไม่เชื่อ 2-3 ชม.หรือหลายวัน
ระยะเชิญกับความสูญเสีย
หมดแรง ขาดความกระตือรือร้น
ความทุกข์โศกผิดปกติ
สาเหตุไม่สามารถปรับสภาพจิตใจ
ให้เป็นไปตามกระบวนการทุกข์โศกได้
การแสดงออก
Delayed reaction
ความผิดปกติที่ไม่สามารถ
แสดงความโศกเศร้าออกมา
มักใช้กลไกทางจิต
Distorted reaction
วิตกกังวลสูง ซึมเศร้า
ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
Prolonged grief
โศกเศร้ายาวนาน
เสียใจหลายปีเกี่ยวกับความทรงจำเก่าๆ
ปฏิกิริยาตอบสนอง
ต่อการสูญเสีย
ขั้นที่ 1 การปฏิเสธ
ขั้นที่ 2 โกรธ
ขั้นที่ 3 การต่อรอง
ขั้นที่ 4 ซึมเศร้า
ขั้นที่ 5 ยอมรับ
การวางแผน
การพยาบาล
เป้าหมายหลัก
ของการช่วยเหลือ
ประคับประคองอารมณ์เศร้าโศกเสียใจให้ลดลง
เพิ่มการเตรียมพร้อมรับความจริง
พยายามให้บุคคลได้มีโอกาสระบายออก
กลับสู่สังคมได้โดยเร็วที่สุด
การดูแลช่วยเหลือ
สร้างเสริมความสัมพันธ์
ที่เชื่อถือไว้วางใจ
สร้างสัมพันธภาพเชิงวิชาชีพแบบ 1:1
พูดคุย ทักทายสม่ำเสมอ และพอเหมาะ
พยาบาลมีท่าทีสงบ มั่นคง และให้ความรู้สึกร่วม
ไม่แสดงท่าทีคุกคาม ตำหนิ วิพากษ์วิจารณ์
ส่งเสริมให้ลด
ความรู้สึกทุกข์โศก
ให้เวลาพูดถูกได้ระบายอารมณ์เศร้า เสียใจ
สร้างบรรยากาศและเปิดโอกาสให้มีการสื่อสารด้านอารมณ์
ความรู้สึกนึกคิดอย่างเปิดเผยและตรงไปตรงมา
ใช้เทคนิคการสื่อสารเพื่อให้รับรู้ความรู้สึกของตนเอง
ให้กำลังใจ และกระตุ้นให้แสดงอารมณ์
ความรู้สึกต่อสิ่งที่สูญเสียมากกว่าสนับสนุนให้เลิกคิดถึง
ส่งเสริมการสร้างและ
คงความหวังที่เป็นจริง
ใช้เทคนิคช่วยให้ระบายความรู้สึกหมดหวังและท้อแท้ใจ
สนับสนุนวิธีการเผชิญปัญหาที่เหมาะสม
เพิ่มความรู้สึกมีหวังในชีวิตแม้จะต้องสูญเสียบางสิ่งไป
ชี้ให้ผู้เศร้าโศกได้เปรียบเทียบ
ประสบการณ์ของตนกับผู้อื่นที่รุนแรงกว่า
ส่งเสริมการสร้างศรัทธา
และความหวัง ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
เพิ่มความหมายของการมีชีวิต
คุณค่าและความผูกพันของตนกับผู้อื่น
กระตุ้นให้ผู้ทุกข์โศก
เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ
จัดกิจกรรมเล็กๆน้อยๆ
ที่สามารถกระทำได้ด้วยตนเอง
กระตุ้นให้เข้าร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น
จัดสิ่งแวดล้อม
เพื่อการบำบัด
จัดสิ่งแวดล้อมที่ปราศจาก
สิ่งกระตุ้นให้เกิดความเศร้าเสียใจ
มีแสงสว่างเพียงพอ
ดูแลให้ปลอดภัยที่สะดวก
แนวทางการดูแลตนเอง
เพื่อให้มีสุขภาพจิตที่ดี
ตรวจสอบตัวเอง
ฝึกสมาธิ
รู้จักขอบคุณสิ่งต่างๆในชีวิต
นอนหลับให้เพียงพอ
พัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง
ดูแลตัวเอง
ออกกำลังกาย
อย่ากลัวที่จะขอความช่วยเหลือ
รักษาความสัมพันธ์ที่ดี
กับคนรอบข้าง
ผู้ที่มีความวิตกกังวล
ระดับความวิตกกังวล
ระดับกลาง การรับรู้แคบลงทำให้ตนเองไม่สบายใจ
ระดับสูง สมาธิในการรับฟังปัญหาลดลง
มีอาการมึนงง ไม่อยู่กับพี่
ระดับต่ำ เป็นความวิตกกังวลระดับน้อยน้อยๆ
ระดับสูงสุด การรับรู้น้อย สับสน วุ่นวาย
หวาดกลัวสุดขีด ควบคุมตนเองไม่ได้
อาการของ
คนวิตกกังวล
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย
หัวใจเต้นเร็ว แน่นหน้าอก ตัวสั่น ปวดศีรษะ
การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
หงุดหงิดง่าย โกรธง่าย เศร้าบ่อย
การเปลี่ยนแปลงทางความคิด ความจำ และการรับรู้
ลืมง่าย หมกมุ่น ไม่ค่อยมีสมาธิ ครุ่นคิดแต่อดีต
ประเภทของ
ความวิตกกังวล
ความวิตกกังวลเฉียบพลัน
ความวิตกกังวลเรื้อรัง
ความวิตกกังวลปกติ
กระบวนการเกิด
ความวิตกกังวล
ความต้องการของบุคคลมีสิ่งกีดขวาง
ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จ
เกิดอารมณ์ไม่สบายใจ กระวนกระวายใจ
ไม่สามารถขจัดความไม่สบายใจได้ด้วยตนเอง
มีภาวะอื่นตามมาเพื่อลดความวิตกกังวล
เช่น ภาวะโกรธ ก้าวร้าว ตำหนิผู้อื่น การช่วยเหลือผู้ที่วิตกกังวล
พลังความวิตกกังวล
ถูกเปลี่ยนเป็นพลังอื่น
ลักษณะของความวิตกกังวล
ความวิตกกังวล
ประจำตัว
มีแนวโน้มที่จะรับรู้หรือคาดคะเน
สิ่งเร้าว่าน่าจะเกิดอันตราย
อาจคุกคามตนเองทำให้
มีความวิตกกังวลเกิดขึ้น
ความวิตกกังวล
ในขณะปัจจุบัน
ทำให้บุคคลเกิดความตึงเครียด หวาดหวั่น
กระวนกระวาย ระบบอัตโนมัติตื่นตัวสูง
ทำให้แสดงพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้
ในช่วงที่อยู่ในสถานการณ์นั้นออกมา
การช่วยเหลือผู้ที่
มีความวิตกกังวล
ระดับน้อยถึงปานกลาง
หลีกเลี่ยงการพูดถึงเรื่องอื่นที่สำคัญสำหรับผู้ป่วย
ควรใช้คำถามที่ชัดเจนว่าผู้ป่วย
สื่อความอะไร เพื่อความเข้าใจตรงกัน
เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
ต่อเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความวิตกกังวล
ช่วยให้ผู้ป่วยระบุความคิดและความรู้สึก
ก่อนจะเกิดความวิตกกังวล
ใช้ภาษาในการแสดงความใส่ใจ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยร่วมแก้ปัญหาของตนเอง
ช่วยพัฒนาการค้นหาทางเลือกในการแก้ปัญหา
โดยการใช้บทบาทสมมุติ
ให้ผู้ป่วยสำรวจพฤติกรรมที่ช่วยลด
ความวิตกกังวลในอดีตที่เคยทำมา
เตรียมกระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดถึงสาเหตุที่ประสบมา
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ทำงานเพื่อใช้พลังงานบ้าง
ช่วยผู้ป่วยค้นหาสาเหตุของความวิตกกังวล
ระดับปานกลางถึงรุนแรง
เสริมแรงให้ผู้ป่วยอยู่ในโลกของความเป็นจริง
ฟังอย่างใส่ใจในการติดต่อสื่อสารกับผู้ป่วย
ใช้เสียงต่ำเวลาพูดและควรพูดช้าๆ
ใส่ใจความปลอดภัยด้านร่างกายตามความจำเป็น
ใช้คำพูดที่ชัดเจน ปกติ
ธรรมดาและพูดซ้ำ
เน้นเรื่องความปลอดภัยในทุกๆด้านเป็นเป้าหมายหลัก
สิ่งกระตุ้นให้น้อยลงที่สุด
จัดบรรยากาศให้เงียบสงบ
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ออกกำลังกายตามความเหมาะสม
เฝ้าดูแลอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะ
ผู้ป่วยที่มีอาการแพนิค
ในกรณีที่ผู้ป่วยเดินไปเดินมาตลอดเวลา ควรให้น้ำที่มีแคลอรี่สูง
เข้าหาด้วยท่าทีที่สงบ
ประเมินความต้องการยาหรือห้องแยก อาการช่วยเหลือวิธีอื่นล้มเหลว
ความหมาย
ความวิตกกังวลเป็นสภาวะทางอารมณ์
รู้สึกเหมือนถูกคุกคามอยู่ในอันตราย
มีการตอบสนองทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ผู้ที่มีความเครียด
สาเหตุของ
ความเครียด
สิ่งที่พยายามจะทำร้ายบุคคล
ทำให้บุคคลประสบความไม่พึงพอใจ
ขัดขวางพัฒนาการทางด้านร่างกาย
และจิตใจของมนุษย์ ทำให้จิตใจขาดความสมดุล
ระดับของความเครียด
ความเครียดระดับกลาง
ความเครียดระดับสูง
ความเครียดระดับต่ำ
ความหมาย
ความเครียดเป็นปฏิกิริยาที่ตอบสนองต่อสิ่งที่มาคุกคามบุคคล
โดยสิ่งนั้นเป็นต้นเหตุมาจากสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับร่างกาย
จิตใจ พี่บุคคลประเมินแล้วว่าเป็นอันตรายต่อตนเอง
ความเครียดระดับสูง
ฝึกให้ใช้แบบประเมินและวิเคราะห์
ความเครียดด้วยตนเอง
ให้สำรวจตนเองว่าเครียดจากปัญหาใด
ให้พยายามแก้ปัญหาตรงกับสาเหตุ
ของปัญหานั้นให้ได้โดยเร็ว
ฝึกให้เรียนรู้การปรับเปลี่ยน
วิธีคิดที่จะทำให้ไม่เครียด
ฝึกให้เรียนรู้เทคนิคการคลายเครียด