Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
บทที่ 4 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ (Endocrine Gland) คือ กลุ่มเซลล์หรือกลุ่มเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่สร้าง และผลิตสารเคมีพิเศษที่เรียกว่า “ฮอร์โมน” (Hormone) ให้กับร่างกาย ซึ่งสารดังกล่าวไม่สามารถผลิตได้จากต่อมอื่น ๆ โดยสารเคมีหรือฮอร์โมนเหล่านี้จะถูกส่งเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรง โดยไม่ผ่านท่อลำเลียงภายนอก ดังนั้น ต่อมไร้ท่อจึงเป็นอวัยวะที่ประกอบด้วยเส้นเลือดจำนวนมาก เพื่อทำหน้าที่ลำเลียงสารที่ต่อมผลิตได้ไปยังอวัยวะต่าง ๆ ผ่านการไหลเวียนของน้ำเลือดหรือน้ำเหลืองทั่วร่างกาย
หน้าที่ของต่อมไร้ท่อ
สร้างฮอร์โมนที่ควบคุมอารมณ์การเจริญเติบโตการเผาผลาญการเจริญพันธุ์
ต่อมไร้ท่อจะทำหน้าที่ควบคุมการสร้างและการปล่อยฮอร์โมนออกมา
ต่อมไร้ท่อจะส่งฮอร์โมนจะไปสู่เซลล์ต่าง ๆ ของร่างกายพร้อมกับกระแสเลือด
ต่อมไร้ท่อที่จำเป็นน้อยต่อร่างกาย (Non – Essential Endocrine Gland)
ต่อมใต้สมอง (Pituitary) คือ ต่อมขนาดเล็กใต้สมอง
-โกรท ฮอร์โมน (Growth Hormone) ทำหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย
-โกนาโดโทรฟิก ฮอร์โมน (Gonadotrophic Hormone) ทำหน้าที่กระตุ้นการสร้างเซลล์สืบพันธุ์
-แอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน (Antidiuretic Hormone) ทำหน้าที่ควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid)
ทำหน้าที่สร้าง “ไทร็อกซิน” (Thyroxin) ฮอร์โมนที่ทำหน้าที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตองกระดูก สมอง และระบบประสาท ควบคุมอัตราเมตาบอลิซึมในร่างกาย
ต่อมไพเนียล (Pineal Grand)
ผลิตสารเมลาโทนิน (Melatonin)ทำหน้าที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของต่อมเพศก่อนวัยหนุ่มสาว ควบคุมการนอนหลับ
ต่อมไทมัส (Thymus Grand)
ผลิตสารไทโมซิน(Thymosin) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่สร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย โดยเป็นต่อมที่เจริญเต็มที่ตั้งแต่อยู่ในวัยทารกจนถึงอายุราว 6 ปี ก่อนจะเสื่อมสภาพ
ต่อมเพศ (Gonads)
มีหน้าที่สำคัญ 2 ประการคือ สร้างเซลล์สืบพันธ์ุ และสร้างฮอร์โมนที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธ์ุ และควบคุมลักษณะเด่นของเพศ
เทสทอสเตอโรน (Testosterone)
เอสโตรเจน (Estrogen)
โปรเจสเตอโรน (Progesterone)
ต่อมไร้ท่อที่จำเป็นต่อร่างกาย (Essential Endocrine Gland)
ต่อมหมวกไต (Adrenal Gland)
เนื้อเยื่อชั้นนอก (Adrenal Cortex)
กลูโคคอร์ติคอยด์ (Glucocorticoid Hormone)
มินเนอราโลคอร์ติคอยด์ (Mineralocorticoid Hormone)
ฮอร์โมนเพศ (Sex hormone)
เนื้อเยื่อชั้นใน (Adrenal Medulla)
ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid)
ทำหน้าที่ผลิต “พาราทอร์โมน” (Parathormone) ซึ่งเป็นฮอร์โมนสำคัญที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการเมตาบอลิซึมของแคลเซียมและฟอสฟอรัสในร่างกาย
ต่อมไอส์เลตส์ของตับอ่อน (Islets of Langerhans)
ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนที่สำคัญ 2 ชนิด คือ อินซูลิน (Insulin)และกลูคากอน (Glucagon) ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
การพยาบาลผู้ป่วยเบาหวาน
อาการผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะต้องตื่นมาปัสสาวะตอนกลางคืน
หิวน้ำบ่อย
หิวบ่อย รับประทานจุ แต่น้ำหนักลด
ผิวแห้ง
ชาบริเวณปลายมือปลายเท้า
การรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยต่อมพาราไทรอยด์ และไทรอยด์ผิดปกติ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของต่อมหมวกไต
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของต่อมใต้สมอง